Page 131 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 131

614 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




                6.  แนวคิดธุรกิจอาหารสุขภาพ  เครื่องแกง      แนวคิดธุรกิจจากผลการศึกษา ยังไม่น�าไปสู่
           เลียงพร้อมปรุง ควรผลิตจากครัวของโรงพยาบาล   การปฏิบัติ เพราะมีปัจจัยร่วมหลายประการ เช่น การ

           และปรุงเป็นแกงเลียงผักเลือกได้ หรือเมนูอาหาร  ตัดสินใจของผู้บริหาร การประสานงานระหว่างฝ่าย
           สุขภาพอื่น ๆ จ�าหน่ายในห้องอาหารเป็นกิจวัตร เช่น   บริการพยาบาล ฝ่ายโภชนาการ ฝ่ายการครัว และฝ่าย
           วันอังคารมีแกงเลียง วันพุธมีแกงส้ม เป็นต้น ทั้งนี้  ประชาสัมพันธ์ ซึ่งเป็นภารกิจที่ไม่เคยมีมาก่อน ดังนั้น

           เพราะมีมาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย ที่ผู้รับ  การเริ่มต้นธุรกิจอาหารสุขภาพ ควรมีแบบแผนจาก
                                                                 [23]
           บริการ ญาติผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ เชื่อมั่นในคุณภาพ  ธุรกิจเริ่มแรก  (startup business) ได้แก่ การสร้าง
                การจัดการธุรกิจอาหารสุขภาพจากสรรพคุณ   ระบบแนวคิดใหม่ ทีมงาน แผนธุรกิจ เงินลงทุน และ

           สมุนไพร โดยเลือกอาหารไทยเมนูเดิม และเมนูอาหาร  เวลาจัดการภารกิจ โดยอาจเริ่มจากโครงการน�าร่อง
           ไทยร่วมสมัย เช่น ลาบเห็ด ย�ามะระสด สลัดโรลล์   สร้างทีมงานกลุ่มเล็กที่สนใจภูมิปัญญาไทย อาหาร
                                  [22]
           เปาะเปี๊ยะส้มต�า ข้าวอบธัญพืช  เผยแพร่สารสนเทศ  เป็นยา และการสร้างเสริมสุขภาพ ทดลองผลิตเครื่อง
           สมุนไพร ที่มีสรรพคุณต่อสุขภาพ ปรุงเมนูอาหารที่มี  แกงเลียงพร้อมปรุงจากครัวของโรงพยาบาล จ�าหน่าย
           สมุนไพร จ�าหน่ายในห้องอาหารโรงพยาบาล มีการ  ภายในโรงพยาบาลและเครือข่ายองค์การใกล้เคียง

           ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ ผ่านสื่อภายในและบุคลากร  เมื่อมีทักษะการผลิตและการจัดการธุรกิจเบื้องต้น
           สุขภาพให้ค�าแนะน�า ทดลองบริการจัดส่งอาหารถึง  แล้ว อาจร่วมมือกับภาคเอกชนต่อไป
           ผู้รับ ตามระบบจัดส่งที่นิยม เช่น ไลน์แมน แกร็บฟู้ด

           เป็นต้น                                                     ข้อสรุป
                ผลการศึกษาครั้งนี้ ได้เริ่มต้นพัฒนาบรรจุภัณฑ์     1.  ต�ารับแกงเลียงจากภูมิปัญญาไทย มีเครื่อง

           ต้นแบบให้ทันสมัย น่าสนใจ (Figure 7)         ปรุงหลัก 3 อย่างเท่ากัน คือ 1) หอมแดง 2) กระชาย
                                                       3) กุ้งแห้งกับกะปิ และพริกไทยตามชอบ แกงเลียง
                                                       เป็นอาหารไทยที่รู้จักดีมายาวนาน ใช้ผักพื้นบ้านหลาย

                                                       ชนิด และกินอาหารเป็นยา
                                                           2. การพัฒนาเครื่องแกงเลียงต้นแบบ 3 ครั้ง
                                                       โดยปรุงเป็นแกงเลียงผัก 5 สี ได้ต�ารับเครื่องแกงเลียง

                                                       ต้นแบบ 3 เป็นผลิตภัณฑ์เครื่องแกงเลียงพร้อมปรุง มี
                                                       สัดส่วนเครื่องปรุงหลัก 1) หอมแดง 25% 2) กระชาย
                                                       20% 3) กุ้งแห้ง 30% กะปิ 15% และพริกไทย 10%

                                                       เป็นต�ารับตั้งต้นในการทดลองผลิตและจ�าหน่ายได้
                                                           3. การประเมินความชอบแกงเลียง ที่ปรุงจาก

                                                       เครื่องแกงเลียงพร้อมปรุง ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความชอบ
                  Figure 7  A pilot package designing  เรื่อง สี กลิ่น ลักษณะปรากฏ และความพอดี ในระดับ
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136