Page 136 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 136

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  619





               เอสเตอเรส และ แอลฟา-กลูโคสิเดส โดยสารสกัด 95% เอทานอล มีฤทธิ์สูงสุดในการยับยั้งเอนไซม์บิวทีริลโคลีน-
               เอสเตอเรส และ อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส โดยมีค่าความเข้มข้นที่ยับยั้งได้ครึ่งหนึ่ง (IC 50) เท่ากับ 64.40 ± 16.74 และ
               127.99 ± 6.15 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล�าดับ สารสกัด 70% และ 50% เอทานอล มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-
               กลูโคสิเดสสูงที่สุด มีค่า IC 50 เท่ากับ 382.64 ± 16.18 และ 409.43 ± 19.14 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล�าดับ สารสกัด
               ทุกชนิดไม่มีฤทธิ์ยับยั้งแองจิโอเทนซิน 1-คอนเวอร์ติงเอนไซม์ และ เอนไซม์แอลฟา-อะไมเลส ปริมาณสารไมตราไจนีน
               (mitragynine) ในสารสกัดเอทานอล 95%, 70%, 50% และสารสกัดน�้า มีค่าเท่ากับ 54.00 ± 1.17, 35.14 ± 0.64, 25.05
               ± 0.05, และ 18.08 ± 0.30 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล�าดับ
                    อภิปรายผล:  สารสกัดกระท่อมมีฤทธิ์มากที่สุดในการยับยั้งเอนไซม์ บิวทีริลโคลีนเอสเตอเรส ตามด้วย
               เอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส และมีฤทธิ์ปานกลางในการยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคสิเดส สารสกัดเอทานอล
               95% มีปริมาณสารไมตราไจนีนสูงที่สุดสอดคล้องกับฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส และ บิวทีริลโคลีน
               เอสเตอเรส การศึกษานี้เป็นการศึกษาเฉพาะปฏิกิริยาเอนไซม์ในหลอดทดลองซึ่งจ�าเป็นต้องมีการศึกษาอื่นทั้งในหลอด
               ทดลองและในสัตว์ทดลอง เพื่อสรุปความเป็นไปได้ในการใช้กระท่อมเป็นยาส�าหรับผู้ป่วยหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
                    ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ:  การศึกษานี้บ่งชี้ว่าสารสกัดใบกระท่อมมีฤทธิ์ยั้งยั้งการท�างานของเอนไซม์อะเซทิล-
               โคลีนเอสเตอเรส, บิวทีริลโคลีนเอสเตอเรส และแอลฟา-กลูโคสิเดส แต่อย่างไรก็ตามจ�าเป็นต้องศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพ
               อื่น ๆ ทั้งในหลอดทดลองและในสัตว์ทดลอง รวมถึงงานวิจัยเชิงคลินิกเพื่อยืนยันศักยภาพของกระท่อมส�าหรับพัฒนา
               เป็นผลิตภัณฑ์ยาแผนไทยหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารต่อไป

                    ค�ำส�ำคัญ:  พืชกระท่อม, Mitragyna speciosa, อัลไซเมอร์, แอลฟากลูโคสิเดส, บิวทีริลโคลีนเอสเตอเรส





                 Introduction and Objectives            Narcotic Act (No.8) B.E.2564, with the legis-

                 Mitragyna speciosa Korth or Thai name,   lative intention of utilizing it as an herbal or
            Kratom, belongs to Rubiaceae family, is a   traditional medicines. [4]

            deciduous or evergreen tree. It is native to      In traditional Thai medicine (TTM), Kra-
            Southeast Asia and can be found in countries   tom has long been utilized as an ingredient
            such as Thailand, Malaysia, Indonesia, the   in several TTM remedies, but it has never

            Philippines and New Guinea, along the Pen-  been used as a single herb in TTM practice.
                                       [1]
            insular Malaysia and Borneo.  In Thailand,   The “A-Ti-Sa-Ra’’ (Thai word) scripture docu-
            Kratom has first illegal since A.C.1943 under   mented the use of Kratom as an ingredient
            the Kratom Plant Act, B.E.2486 , and later   in anti-diarrheal or anti-dysentery remedies,
                                         [2]
            classified as category V narcotic under the   such as the “Ha-Nu-Man-Jong-Tha-Non’’

            Narcotic Act, B.E.2522 (1979), prohibiting all   (Thai word) remedy. Kratom is also mentioned
            consumption, cultivation, trade, and distribu-  in the “Cha-Wa-Darn’’ (Thai word) scripture
            tion.   However, in the recent years, Kratom   as an ingredient in the “Klom-Ar-Rom’’ (Thai
                [3]
            has become legal again in Thailand under the   word) remedy, which is utilized to treat
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141