Page 135 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 135
618 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
However, all extracts were inactive on angiotensin-I converting enzyme and alpha-amylase enzyme. The content
of mitragynine in the 95%, 70%, 50% ethanolic extracts and the aqueous extracts were 54.00 ± 1.17, 35.14 ± 0.64,
25.05 ± 0.05, and 18.08 ± 0.30 mg/g, respectively.
Discussion: Kratom extracts showed the most potential as butyrylcholinesterase and acetylcholinesterase
inhibitors, and exhibited moderate activity in inhibiting alpha-glucosidase. The 95% ethanolic extract exhibited
the highest mitragynine content, which was correlated with its ability to inhibit acetylcholinesterase and butyryl-
cholinesterase enzymes. This study was limited to explore only the in vitro enzymatic-based assays which require
additional in vitro and in vivo assay models to conclude the possibility of using kratom as a medicine for patients
or as dietary supplement.
Conclusion and Recommendation: The findings of this study suggested the inhibitory effects of kratom
extracts on acetylcholinesterase, butyrylcholinesterase and alpha-glucosidase. Moreover, further in vitro and
in vivo assay models as well as clinical trials are necessary to confirm its potential for development as a traditional
medicine, or dietary supplement.
Key words: kratom, Mitragyna speciosa, Alzheimer, alpha-glucosidase, butyrylcholinesterase
การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพด้วยปฏิกิริยาเอนไซม์ของสารสกัดใบกระท่อมต่อ แอลฟา-อะไมเลส,
แอลฟา-กลูโคสิเดส, แองจิโอเทนซิน-คอนเวอร์ติง เอนไซม์ และ โคลีนเอสเตอร์เลส
วีระชัย พิพัฒน์รัตนเสรี , ชนิสรา อินทร์เตรียะ , สายัน ขุนนุช , ศักดิ์วิชัย อ่อนทอง , ฐิติพร ทับทิมทอง ,
†
†
*
*
*
สดุดี รัตนจรัสโรจน์ , ศิริวรรณ ชัยสมบูรณ์พันธ์ , อรรถวดี แซ่หยุ่น ‡,§
†
†
* ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 12 สงขลา กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต�าบลพะวง อ�าเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา 90100
† สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ต�าบลตลาดขวัญ อ�าเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000
‡ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านยาและเครื่องส�าอาง มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ต�าบลไทยบุรี อ�าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161
§ ส�านักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ต�าบลไทยบุรี อ�าเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช 80161
¶ ผู้รับผิดชอบบทความ: weerachai.p@dmsc.mail.go.th
บทคัดย่อ
บทน�าและวัตถุประสงค์: กระท่อม (Mitragyna speciosa Korth) เป็นพืชที่มีการใช้ในการแพทย์แผนไทยและ
การแพทย์พื้นบ้านมาอย่างยาวนาน ปัจจุบันในประเทศไทยกระท่อมเป็นพืชที่ถูกกฎหมายโดยมีจุดประสงค์เพื่อใช้
ประโยชน์ทางการแพทย์เป็นพืชสมุนไพรและยาแผนไทย กระท่อมจึงได้รับความสนใจอย่างแพร่หลายและมีการน�า
มาใช้ในการรักษาอาการต่าง ๆ ตามความเชื่อของผู้ใช้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสาร
สกัดจากใบกระท่อม โดยใช้ปฏิกิริยาเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและอัลไซเมอร์ เพื่อ
เป็นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ในการใช้กระท่อมเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์
วิธีการศึกษา: สารสกัดใบกระท่อมที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย สารสกัดจากการหมักด้วย 95%, 70%,
50% เอทานอล และสารสกัดจากการต้มด้วยน�้า ศึกษาฤทธิ์ต้านเบาหวานโดยฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์แอลฟา-กลูโคซิเดส
และแอลฟา-อะไมเลส ฤทธิ์ลดความดันโลหิตโดยการยับยั้ง แองจิโอเทนซิน 1-คอนเวอร์ติงเอนไซม์ (angiotensin-I
converting enzyme) และฤทธิ์ต้านอัลไซเมอร์โดยการยับยั้งเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรสและบิวทีริลโคลีนเอส-
เตอเรส
ผลการศึกษา: สารสกัดใบกระท่อมมีฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเตอเรส, บิวทีริลโคลีน-