Page 30 - J Trad Med 21-1-2566
P. 30
10 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
ต�าราการแพทย์แผนไทย ซึ่งมีลักษณะเป็นเม็ดขนาด ในระยะเวลาหนึ่ง จนถึงอุณหภูมิที่สามารถท�าลาย
เล็ก กลม และป้อม ได้รับการตรวจสอบและยืนยันจาก พันธะที่ยึดเกาะของเม็ดเกลือได้ ส่งผลให้เม็ดเกลือ
ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย สาขาเภสัชกรรม แตกออกเป็นเม็ดที่เล็กลง เมื่อเกลือสุกจะสังเกตได้
ไทย (ภาพที่ 2) จากเม็ดเกลือจะแตกและมีเสียง “เป๊ะ”
เกลือสุก หมายถึง เกลือที่ผ่านการให้ความร้อน
ภาพที่ 1 เกลือสินเธาว์ตัวผู้ ภาพที่ 2 เกลือสินเธาว์ตัวเมีย
วิธีกำรศึกษำ นั้นค�านวณหาค่าเฉลี่ย เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของ
1. วัดขนาดและชั่งน�้าหนักของหม้อทะนน เม็ดเกลือก่อนและหลังการทดลอง
เตรียมหม้อทะนนที่มีขนาดใกล้เคียงกัน โดย 3. ท�าการทดลอง
เลือกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ซึ่งเป็นขนาด 3.1 น�าเกลือสินเธาว์ตัวผู้กับเกลือตัวเมีย
มาตรฐานในการใช้ทับหม้อเกลือ วัดขนาดเส้นผ่าน ใส่ลงในหม้อทะนนอย่างละ 3 ใบ โดยให้ความหนา
ศูนย์กลางก้นหม้อ ปากหม้อด้านนอกและปากหม้อ แน่นของเกลือในหม้อแต่ละใบมีความหนาแน่นของ
3
ด้านใน วัดรอบคอหม้อ วัดรอบส่วนก้นหม้อหรือส่วน เกลือที่ 0.8 g/cm โดยค�านวณจาก สูตร D = m
v
ที่กว้างที่สุด วัดความลึกของหม้อ วัดความหนาของ เมื่อ D คือ ความหนาแน่นของเกลือในหม้อ, m คือ
หม้อ และน�ามาชั่งน�้าหนัก เพื่อคัดเลือกหม้อทะนนที่ มวลของเกลือ (กรัม), v คือ ปริมาตรของหม้อทะนน
ใช้ในการศึกษาให้มีขนาดใกล้เคียงกัน (ลบ.ซม.) ซึ่งปริมาตรของหม้อทะนนได้จากการน�าน�้า
2. วัดขนาด (หาปริมาตร) และชั่งน�้าหนักของ เปล่าใส่หม้อทะนน แล้วน�าน�้าในหม้อทะนนตวงน�้าใส่
เม็ดเกลือ กระบอกตวงเพื่อหาปริมาตร
ท�าการสุ่มเม็ดเกลือสินเธาว์ตัวผู้และตัวเมียที่อยู่ 3.2 จับเวลา 5 นาที หลังจากตั้งเตาไฟฟ้า
ในหม้อทะนน ท�าการวัดขนาดของเม็ดเกลือ โดยใช้ ให้ได้อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส จากนั้นน�าหม้อ
Digital Vernier Caliper วัดความกว้าง ความยาว ทะนนที่ใส่เกลือขึ้นตั้ง ท�าการจับเวลาจนเกลือ
และความหนาเม็ดเกลือแต่ละเม็ด และชั่งน�้าหนัก จาก สุก บันทึกอุณหภูมิและระยะเวลาที่เกลือสุกลงใน