Page 29 - J Trad Med 21-1-2566
P. 29

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  9




                     บทน�ำและวัตถุประสงค์               จากบ้านหนองกวัง ต�าบลหนองกวัง อ�าเภอบ้านม่วง

                 การดูแลสุขภาพหญิงหลังคลอด ยังคงมี      จังหวัดสกลนคร ที่ได้จากการท�าเกลือ “แบบตากหน้า
            ความเชื่อและใช้แบบแผนการดูแลตนเองโดยอาศัย   ดิน” โดยกระบวนการน�าน�้าเกลือมาตากแดดให้น�้า
                          [1]
            ภูมิปัญญาพื้นบ้าน  ซึ่งในอดีตการดูแลหลังคลอดใช้  ระเหย กระทั่งเมื่อถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ อนุภาคของ
            ค�าว่า “อยู่ไฟ” เพราะมีความสัมพันธ์กับการใช้ความ  เกลือจะตกผลึกออกมา
            ร้อนในการดูแลร่างกายในระยะพักฟื้นหลังคลอด

            โดยจะครอบคลุมทุกกิจกรรมในการดูแล เช่น การ               ระเบียบวิธีศึกษำ
            นอนข้างกองไฟ ดื่มน�้าต้มสมุนไพรอุ่น ใช้อิฐเผาไฟให้     การศึกษาครั้งนี้ใช้ระเบียบวิจัยเชิงทดลอง
            แดงเอาน�้าราดแล้วห่อประคบหน้าท้องให้ท้องยุบ การ  (experimental research) วิธีการทางสถิติที่ใช้คือ

            นวดหลังคลอด ประคบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ    การรายงานผลด้วยสถิติเชิงพรรณนา (descriptive
                  [2]
            เป็นต้น  สรุปการ “อยู่ไฟ” คือการใช้ความร้อนด้วย  statistics) ได้แก่ ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย
            วิธีการต่าง ๆ ที่เป็นการน�าหรือการแผ่รังสีความร้อน  (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard devia-
            ภายนอกสู่ร่างกาย รวมถึงการรับประทานอาหารรส  tion) และร้อยละการเปลี่ยนแปลง (% change)
            เผ็ดร้อนด้วย เพื่อให้เกิดความร้อนภายในร่างกายของ

            มารดาหลังคลอด  จากการศึกษาต�าราและงานวิจัยที่  นิยำมศัพท์เฉพำะ
                         [3]
            เกี่ยวข้องกับการทับหม้อเกลือในหญิงหลังคลอด พบ     เกลือ หมายถึง เกลือสินเธาว์ที่ได้จากบ้าน
            ว่าได้มีการระบุไว้ชัดเจนว่าเกลือที่น�าไปใส่ในหม้อดิน  หนองกวัง ต�าบลหนองกวัง อ�าเภอบ้านม่วง จังหวัด

            หรือที่เรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่าหม้อทะนน เพื่อเป็นตัวเก็บ  สกลนคร ที่ได้จากการท�าเกลือ “แบบตากหน้าดิน”
            ความร้อน คือ เกลือตัวผู้  และตามต�าราการรักษาโรค  โดยกระบวนการน�าน�้าเกลือมาตากแดดให้น�้าระเหย
                              [4]
            ของแพทย์แผนไทยได้มีการแบ่งเพศตามลักษณะของ   กระทั่งเมื่อถึงจุดอิ่มตัวของเกลือ อนุภาคของเกลือจะ

            เกลือไว้ 2 ประเภท ได้แก่ เกลือตัวผู้กับเกลือตัวเมีย   ตกผลึกออกมา
            ซึ่งยังไม่มีรายงานที่ระบุแน่ชัดว่า เหตุใดต้องเป็นเกลือ     เกลือตัวผู้ หมายถึง เกลือสินเธาว์ที่ได้จากบ้าน

            ตัวผู้เท่านั้น หรือบางต�าราไม่ได้เฉพาะเจาะจงว่าเป็น  หนองกวัง ต�าบลหนองกวัง อ�าเภอบ้านม่วง จังหวัด
            เกลือตัวผู้ กล่าวเพียงแต่ว่าให้ใช้เกลือหรือเม็ดเกลือ  สกลนคร เป็นลักษณะสัณฐานวิทยาของเกลือตาม
            เป็นตัวเก็บความร้อนในหม้อทะนน               ต�าราการแพทย์แผนไทย ซึ่งมีลักษณะเป็นเม็ดโต ยาว

                 จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น การศึกษานี้จึงมี  มีปลายแหลม และมีรูปร่างเหลี่ยม ได้รับการตรวจ
            วัตถุประสงค์ที่จะศึกษาคุณสมบัติและเปรียบเทียบ  สอบและยืนยันจากผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน

            การเก็บความร้อนของเกลือตัวผู้กับตัวเมีย เพื่อ  ไทย สาขาเภสัชกรรมไทย (ภาพที่ 1)
            เป็นการหาค�าตอบให้กับองค์ความรู้ด้านการแพทย์     เกลือตัวเมีย หมายถึง เกลือสินเธาว์ที่ได้จากบ้าน
            แผนไทยเกี่ยวกับการใช้เกลือส�าหรับทับหม้อเกลือ   หนองกวัง ต�าบลหนองกวัง อ�าเภอบ้านม่วง จังหวัด

            ซึ่งเกลือที่น�ามาศึกษาครั้งนี้ คือ เกลือสินเธาว์ที่ได้  สกลนคร เป็นลักษณะสัณฐานวิทยาของเกลือตาม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34