Page 25 - J Trad Med 21-1-2566
P. 25
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 5
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พบข้อมูลน่าสนใจคือ 78 ราย จากทั้งหมด 236 ราย พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับยา
ตำารับยาส่วนใหญ่มีรูปแบบการใช้ทามากที่สุด แตก เหงือกปลาหมอและพริกไทย มีผลการรักษาไม่แตก
ต่างจากคัมภีร์กุฏโรค ที่ตำารับยาส่วนใหญ่เป็นยากิน ต่างจากผู้ป่วยที่ได้รับยาสมุนไพร 2 ชนิดนี้ ร่วมกับ
นอกจากนั้นข้อมูลที่ศึกษาอย่างเป็นระบบนี้ สามารถ ยาแผนปัจจุบัน ผู้นิพนธ์แนะนำาให้ทำาการศึกษาเชิง
นำาไปใช้ประโยชน์ในการตั้งตำารับยารักษาโรคผิวหนัง ทดลองแบบมีกลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งน่าจะทำาได้ไม่ง่าย
และควรมีการศึกษาวิจัยทางคลินิกต่อไป เรื่องที่ 3 เพราะมีผู้ป่วยทั้งสิ้นเพียง 236 ราย ในช่วง 6 ปี และ
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการฝังเข็ม-ลนยาตาม การใช้สมุนไพร 2 ชนิดนี้ อาจเพิ่มค่าใช้จ่ายในการ
ศาสตร์แพทย์แผนจีน พบว่าจุดฝังเข็มที่ใช้บ่อยคือ รักษาด้วย
บริเวณรอบหัวเข่า โดยพบว่าสามารถมีประสิทธิผล
ในการรักษาอาการข้อเข่าเสื่อมได้ดี จึงน่าสนใจเพราะ ภาคปกิณกะฉบับนี้ ตำาราอ้างอิงสมุนไพรไทย
เป็นวิธีการรักษาโดยไม่ต้องใช้ยา ซึ่งส่วนมากมีผลข้าง เป็นเรื่องชุมเห็ดเทศ และคำาศัพท์จากพจนานุกรม
เคียงสูง ศัพท์การแพทย์แผนจีน เล่ม 2 (จีน-ไทย-อังกฤษ) เช่น
รายงานเบื้องต้น ฉบับนี้มีเรื่องเดียว คือ ความ เคย วารสารสโมสรเป็นเรื่องชุมเห็ดเทศ
ปลอดภัยและผลการรักษาเบื้องต้นของต�ารับยา สุดท้ายเรื่องที่ต้องอ่านคือ ค�าแนะน�าผู้นิพนธ์
เหงือกปลาหมอและพริกไทยในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2566
ผิวหนังโรงพยาบาลอู่ทอง เป็นการศึกษาย้อนหลัง
จากเวชระเบียนผู้ป่วยในช่วง พ.ศ. 2555-2560 จำานวน พบกันใหม่ฉบับหน้า
นายแพทย์วิชัย โชควิวัฒน