Page 24 - J Trad Med 21-1-2566
P. 24
4 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
สามารถลดนำ้าหนักได้จริง ควรศึกษาในประชากร ว่าการศึกษานี้ศึกษาในกัญชาด้วย แต่ไม่พบฤทธิ์ดัง
กลุ่มอื่นต่อไป กล่าว เรื่องที่ 10 การศึกษาวิเคราะห์โรคและอาการ
นิพนธ์ต้นฉบับเรื่องที่ 7 การพัฒนารูปแบบ เจ็บป่วยในจารึกสมัยสุโขทัย: จารึกค�าอธิษฐาน พบ
การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการแพทย์ ว่า จารึกคำาอธิษฐานเป็นจารึกเก่าแก่ มีข้อความกล่าว
แผนไทย และสมุนไพร ซึ่งได้รูปแบบที่สร้างความพึง ถึงโรคและอาการที่ผู้อธิษฐาน ไม่ปรารถนาให้เป็น ซึ่ง
พอใจของทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ แต่ยังเป็นการ โรคและอาการเหล่านั้น ปรากฏในวรรณคดีและตำารา
ศึกษาที่มีข้อจำากัด เพราะไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบและ การแพทย์แผนโบราณของไทยสืบต่อมา ผู้นิพนธ์มี
เป็นการเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ที่มีทัศนคติที่ การวิเคราะห์เปรียบเทียบเอกสารต่าง ๆ อย่างกว้าง
ดีต่อการแพทย์แผนไทยอยู่แล้ว จึงย่อมมีอคติโดย ขวาง รวมทั้งข้อความที่เกี่ยวข้องในพระไตรปิฎกด้วย
พื้นฐาน เรื่องที่ 8 การศึกษาติดตามลักษณะการใช้ นับว่าเป็นงานนิพนธ์ที่น่าสนใจ สามารถศึกษาเชิงลึกใน
และคุณภาพชีวิตของผู้ใช้น�้ามันกัญชาขมิ้นทองใน แต่ละประเด็น และแต่ละโรคหรืออาการต่อไป เรื่อง
ผู้ป่วยรับบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แผน ที่ 11 การศึกษาสถานการณ์แพทย์แผนจีนในระบบ
ไทยในสถานพยาบาล เขตสุขภาพที่ 8 พบว่ากัญชาที่ สาธารณสุขไทย พบว่า ปัจจุบันมีสถานศึกษาผลิต
ทดสอบสามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตได้อย่างมีนัยสำาคัญ แพทย์แผนจีนถึง 9 แห่ง แต่สถานพยาบาลที่สำารวจ
ทางสถิติในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับ บรรเทา 13,602 แห่ง มีแพทย์แผนจีนปฏิบัติงานอยู่เพียง 984
อาการปวดและอาการในผู้ป่วยไมเกรน โดยการศึกษา แห่ง เป็นร้อยละ 7.2 เท่านั้น ผู้ที่รับราชการในสังกัด
นี้ มีข้อจำากัดค่อนข้างมาก เริ่มจากกัญชาได้รับการ กระทรวงสาธารณสุขยังบรรจุในตำาแหน่ง “นักวิชาการ
ผลักดันให้เป็นยารักษาโรค โดยยังไม่มีผลการศึกษา สาธารณสุข’’ ซึ่งไม่ตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ เพราะยัง
ในประเทศไทย การศึกษานี้มุ่งศึกษาเพื่อเพิ่มข้อมูล ไม่มีการกำาหนดตำาแหน่ง “แพทย์แผนจีน’’ ในระบบ
และหลักฐานตามข้อบ่งใช้ โดยเป็นเพียงการศึกษา จึงเป็นปัญหาที่ควรพิจารณาแก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสม
แบบกึ่งทดลอง ทำาให้นำ้าหนักความน่าเชื่อถือไม่สูง ต่อไป
เป็นการศึกษาในหลายข้อบ่งใช้ ทำาให้วัดผลได้ยาก บทปริทัศน์ ฉบับนี้มี 3 เรื่อง เรื่องที่ 1 โอกาส
และเป็นการศึกษาในโรงพยาบาลหลายแห่งในเขต จึง ในการพัฒนาการนวดรักษาเพื่อลดความรุนแรงของ
มีลักษณะเป็นการศึกษาแบบพหุศูนย์ ซึ่งยากแก่การ กลุ่มอาการลองโควิด: การทบทวนวรรณกรรม พบว่า
ควบคุมคุณภาพ ผลการศึกษานี้จึงต้องแปลผลและ การนวดต่าง ๆ ได้แก่การนวดไทย จีน สวีดิช สามารถ
พิจารณานำาไปใช้ด้วยความระมัดระวัง เรื่องที่ 9 การ บรรเทาอาการลองโควิด โดยพบว่าการนวดสามารถ
ตรวจหาฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันของพืชสมุนไพรด้วย ลดสารที่ก่อให้เกิดการอักเสบของร่างกาย และช่วย
วิธีการวัดการตอบสนองของเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด กระตุ้นภูมิคุ้มกันของร่างกาย ผู้นิพนธ์จึงแนะนำาให้มี
ลิมโฟซัยท์ ศึกษาในสารสกัดสมุนไพร 17 ชนิด พบมี การศึกษาเชิงทดลองต่อไป ซึ่งหากมีการศึกษาอย่าง
ชนิดที่สามารถกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน ได้แก่ ปอบิด, เป็นวิทยาศาสตร์โดยการตรวจสารต่าง ๆ ในร่างกาย
แมงลักคาสด, แมงลักคาแห้ง และกระชายดำา เป็น น่าจะต้องมีการลงทุนที่สูง เรื่องที่ 2 การทบทวน
ข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำาไปพัฒนาต่อไป น่าสังเกต วรรณกรรมต�ารับยาสมุนไพรรักษาโรคผิวหนังของ