Page 23 - J Trad Med 21-1-2566
P. 23

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  3




                 ซึ่งวารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์    เช็ดตัวด้วยยาเขียวหอมอุณหภูมิลดลงมากกว่าอย่าง
            ทางเลือก จัดอยู่ในกลุ่มที่ (3)              มีนัยสำาคัญ และลดวันนอนโรงพยาบาลลงได้ 0.81

                 โดยเงื่อนไขดังกล่าว กองบรรณาธิการได้ประชุม  วัน แต่มีข้อจำากัดที่เป็นการศึกษาย้อนหลังจากเวช
            พิจารณาเรื่องนี้ เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2566 และมีมติ  ระเบียนและขนาดกลุ่มตัวอย่างยังเล็กมาก ควรมีการ
            ให้วารสารของเราเข้าร่วมโครงการ “TCI-TSRI-Sco-  ศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบไปข้างหน้า (prospective

            pus Collaboration Project, ระยะ 3 (2023-2025)   randomized-controlled study) ต่อไป  เรื่องที่ 3
            ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย TCI เพื่อพัฒนา  การศึกษาเปรียบเทียบผลการใช้สมุนไพรย่านาง
            เข้าสู่ฐานข้อมูล Scopus ต่อไป โดยจะเริ่มจากฉบับ ปี  แดงแบบชาชงกับการอบต่อระดับโคลีนเอสเทอเรส

            ที่ 21 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2566   ในเกษตรกรที่สัมผัสกับสารก�าจัดศัตรูพืช ซึ่งพบ
            เป็นต้นไป                                   ว่าการดื่มชาชงสมุนไพรย่านางแดงทำาให้ผู้สัมผัสสาร
                 โดยที่วารสารของเราได้พัฒนาเข้าสู่ฐาน ACI มา  เคมีกำาจัดศัตรูพืชที่ศึกษามีระดับเอนไซม์โคลีนเอส

            แล้ว ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 สิ่งที่ต้องทำาเพิ่มคือ ปรับปรุง  เทอเรสสูงขึ้นอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ ควรมีการ
            เรื่องบทคัดย่อ Abstract  ทำาตารางและภาพเป็นภาษา  ศึกษาเพิ่มเติมตามข้อเสนอแนะของผู้นิพนธ์ต่อไป

            อังกฤษ โดยบทคัดย่อ และ Abstract นอกจากเพิ่ม  เรื่องที่ 4 การตรวจคัดกรองโรคลมปลายปัตฆาต
            ความยาวแล้ว จะทำาเป็นแบบมีโครงสร้าง (Struc-  สัญญาณ 4 หลัง: การเปรียบเทียบระหว่างการตรวจ
            tured Abstract) คือแบ่งตามหัวข้อเป็น 5 ย่อหน้า   ร่างกายผู้ป่วยทางหัตถเวชกรรมไทยกับการตรวจ

            ประกอบด้วย (1) บทนำาและวัตถุประสงค์  (2) วิธีการ  ทางรังสีวินิจฉัย พบว่าการตรวจองศาการเงยหน้าตาม
            ศึกษา  (3)  ผลการศึกษา  (4) อภิปรายผลและ (5) ข้อ  แนวทางหัตถเวชกรรมไทยพบโหนกแก้มข้างที่เป็นโรค

            สรุป และข้อเสนอแนะ (ถ้ามี)                  สูงหรือตำ่ากว่าข้างปกติสัมพันธ์กับโรคกระดูกคอเสื่อม
                 จึงขอประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน           แต่ไม่สัมพันธ์กับระดับความสูงของปล้องกระดูกสัน
                 เนื้อหาฉบับนี้ มีนิพนธ์ต้นฉบับ 11 เรื่อง บท  หลังเมื่อเทียบกับการตรวจทางรังสีวินิจฉัย ซึ่งการ

            ปริทัศน์ 3 เรื่อง รายงานเบื้องต้น 1 เรื่อง  ศึกษานี้ยังมีจุดอ่อนที่ไม่มีการเปรียบเทียบในคนปกติ
                 นิพนธ์ต้นฉบับ เรื่องที่ 1 การเปรียบเทียบ  สมควรศึกษาต่อไปตามข้อเสนอแนะของผู้นิพนธ์
            คุณสมบัติของเกลือตัวผู้กับเกลือตัวเมีย โดยหลัก  เรื่องที่ 5 การศึกษาเปรียบเทียบผลของรองเท้านวด

            การทับหม้อเกลือ เป็นการศึกษาเปรียบเทียบง่าย ๆ   กดจุดสมุนไพรบรรเทาอาการชาเท้าในผู้ป่วยโรค
            แต่กระทำาอย่างเป็นระบบ และได้ข้อสรุปสนับสนุน  เบาหวาน ซึ่งพบว่ารองเท้านวดกดจุดสมุนไพรที่
            ตำาราการแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่ที่ระบุให้ใช้เกลือ  ประดิษฐ์ขึ้นสามารถบรรเทาอาการชาเท้าในผู้ป่วย

            ตัวผู้ในการทับหม้อเกลือเพราะเก็บความร้อนได้ดี  โรคเบาหวานดีกว่าการสวมรองใส่รองเท้าธรรมดา
            กว่าเกลือตัวเมียจริง เรื่องที่ 2 การศึกษาประสิทธิผล  และดีกว่าก่อนการทดลอง เรื่องที่ 6 ผลของการ

            การเช็ดตัวด้วยยาเขียวหอมกับการเช็ดตัวรูปแบบ  ฝังเข็มต่อเส้นรอบเอวและค่าดัชนีมวลกายในกลุ่ม
            เดิม ต่อการลดอุณหภูมิกายในผู้ป่วยเด็กโรคปอด  นิสิตมหาวิทยาลัยพะเยาที่มีภาวะน�้าหนักเกิน พบ
            อักเสบที่มีไข้สูง: การศึกษาย้อนหลัง ซึ่งพบว่ากลุ่มที่  ว่า การฝังเข็มตามจุดที่เลือกและระยะเวลาที่กำาหนด
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28