Page 22 - J Trad Med 21-1-2566
P. 22

2   วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน  2566




                น่ายินดี ที่วารสารการแพทย์แผนไทยและการ  เมื่อ พ.ศ. 2563 ซึ่งเราก็พยายามปรับปรุงแก้ไข จนเข้า
           แพทย์ทางเลือก ซึ่งฉบับปฐมฤกษ์ ออกมาเมื่อ พ.ศ.   สู่กลุ่มที่ 1 อีกครั้งในปีต่อมา เมื่อ พ.ศ. 2564 ซึ่งจะมี

           2546 สามารถพัฒนาและดำารงคงอยู่มาได้อย่างต่อ  ผลไปจนถึง พ.ศ. 2567 และมีค่า TCI Impact factor
           เนื่อง เมื่อข้าพเจ้าได้รับเชิญให้มารับหน้าที่บรรณาธิการ                  0.122 ในปี 2561
           เมื่อ พ.ศ. 2555 (ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม -      โดยที่วารสารของเรา มีการเผยแพร่มาอย่างต่อ

           เมษายน พ.ศ. 2555) ข้าพเจ้าได้นำาวารสารเข้ารับการ  เนื่องเป็นเวลาถึงปีที่ 21 แล้ว และอยู่ในกลุ่มที่ 1 มา
           ประเมิน และจัดอยู่ในฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิง  ค่อนข้างยาวนานพอสมควร เราจึงได้รับการพิจารณา
           วารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre:   เข้าโครงการพัฒนาสู่ฐานข้อมูล Scopus โดยเราได้

           TCI) โดยได้รับการประเมินอยู่ในกลุ่มที่ 3 ในปีแรก   รับเชิญเข้าร่วมประชุมและพิจารณาเรื่องนี้ เมื่อวันที่
           และได้มีการพัฒนาจนยกระดับ เข้าสู่กลุ่มที่ 2 เมื่อ   8 ธันวาคม 2565 ที่โรงแรมอนันตธารา ริเวอร์ไซด์ รี
           พ.ศ. 2556-2557 ปีต่อมาก็ได้เลื่อนอยู่ในกลุ่มที่ 1   สอร์ต เขตธนบุรี กรุงเทพฯ  มีประเด็นที่น่าสนใจ คือ

           เมื่อ พ.ศ. 2558 - 2562  และยกระดับเข้าสู่ฐานข้อมูล  วารสารวิชาการในประเทศไทยสามารถพัฒนาเข้าสู่
           เอเซียน (ASEAN Citation Index : ACI)  เมื่อ พ.ศ.   ฐาน Scopus ได้ โดยไม่จำาเป็นต้องจัดทำาเป็นภาษา

           2559                                        อังกฤษทั้งฉบับ แต่ต้องมีการจัดทำาส่วนที่เป็นภาษา
                การพัฒนาเข้าสู่ฐานข้อมูลอาเซียน จะต้องทำา  อังกฤษเพิ่มขึ้นจากหลักเกณฑ์ของ ACI คือ  (1) ตาราง
           ตามเงื่อนไข คือ ต้องมี (1) ชื่อเรื่อง (2) ชื่อผู้นิพนธ์ (3)   และ ภาพ ต้องเป็นภาษาอังกฤษ และใช้ตัวเลขอารบิก

           บทคัดย่อ (4) คำาสำาคัญ และ (5) เอกสารอ้างอิง เป็น  (2) Abstract จะต้องเพิ่มความยาว จาก 200 – 250
           ภาษาอังกฤษ                                  คำา เป็นประมาณ 500 คำา เพื่อให้สามารถเสนอสาระ

                หลังจากนั้น ได้มีการพิจารณาว่า ควรพัฒนา  สำาคัญได้มากเพียงพอให้ผู้อ่านเข้าใจสาระสำาคัญได้
           วารสารของเราเข้าสู่ฐาน Scopus หรือไม่ ที่ประชุม  โดยไม่ต้องอ่านฉบับเต็ม (Full Paper)
           กองบรรณาธิการเห็นพ้องต้องกันว่า เราควรหยุดอยู่     ทั้งนี้ วารสารวิชาการในประเทศไทยที่อยู่ในฐาน

           ที่ TCI และ ACI เพราะบุคลากรในวงการแพทย์แผน  Scopus แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่
           ไทยและการแพทย์ทางเลือกของเรา มีข้อจำากัดเรื่อง     (1) วารสารที่มีความเป็นนานาชาติ โดยเน้น
           ภาษาอังกฤษ หากต้องจัดทำาวารสารทั้งฉบับเป็นภาษา  วารสารที่ตีพิมพ์บทความในสาขาวิทยาศาสตร์และ

           อังกฤษ บุคลากรในวงการแพทย์แผนไทยและการ      เทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ชีวภาพและสุขภาพ
           แพทย์ทางเลือกของเราส่วนใหญ่จะไม่ได้ประโยชน์     (2) วารสารที่ตีพิมพ์บทความที่เกี่ยวข้องกับ
           จากวารสาร                                   ความเป็นอาเซียนหรือความเป็นเอเชีย

                ต่อมาศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย ได้มี     (3) วารสารที่ตีพิมพ์บทความเฉพาะทาง โดย
           การปรับปรุงหลักเกณฑ์โดยตัดคะแนนพื้นฐานออก   เน้นบทความที่เกี่ยวข้องกับเอกลักษณ์ความเป็นไทย

           5 คะแนน จาก 20 คะแนน นำาไปเพิ่มเป็นคะแนน    ศิลปวัฒนธรรม ศาสนาตะวันออก และการวิจัยเชิง
           คุณภาพ โดยเฉพาะเน้นการใช้และเผยแพร่ข้อมูล   พื้นที่ หรือชุมชน
           ดิจิทัลเพิ่มขึ้น ทำาให้วารสารของเราตกไปอยู่กลุ่มที่ 2
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27