Page 39 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 39

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  29




                        ระเบียบวิธีศึกษ�                ประวัติและภูมิหลัง มูลเหตุจูงใจให้มาเป็นหมอนวด
                 งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา   พื้นบ้าน ขั้นตอนการเรียนเป็นหมอนวดพื้นบ้าน และ

            ได้ศึกษาภูมิปัญญาการนวดรักษาของหมอนวดพื้นบ้าน   กระบวนการนวดเพื่อการรักษาโรค จนข้อมูลอิ่มตัว ทำาให้
            5 ราย จาก 4 ภูมิภาค และรวบรวมสมุนไพรในตำารับยา  ได้ผู้ให้ข้อมูลจำานวน 5 คน
            ที่ใช้นวดรักษา ประกอบด้วย ขั้นตอนก่อนการรักษา ขั้น     เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบบันทึก

            ตอนการวินิจฉัยโรค ขั้นตอนการรักษาและการประเมิน  การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม 2) เครื่อง
            ผล และขั้นตอนการฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ และจิต  บันทึกเสียง 3) เครื่องบันทึกภาพ 4) แบบบันทึกการ

            วิญญาณ ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์   สนทนาและ 5) แบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและ
            รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การจดบันทึก   ผ่านการตรวจสอบความถูกต้อง ของเนื้อหาจากผู้ทรง
            การสังเกต การบันทึกเสียงและภาพ จนข้อมูลอิ่มตัว  คุณวุฒิ คือ (1) แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟู
                                                        (2) นักวิชาการอิสระ ผู้เชี่ยวชาญด้านการนวดพื้นบ้าน
            ขั้นตอนก�รคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล              ภาคอีสาน และ (3) นักวิชาการอิสระ ด้านการแพทย์


                 วิธีการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูล 3 ขั้นตอน ดังนี้   พื้นบ้าน แนวคำาถามประกอบด้วย (1) ข้อมูลส่วน
                 ขั้นตอนที่ 1 ใช้การสุ่มแบบกลุ่ม (cluster   บุคคล (2) องค์ความรู้ของหมอนวดพื้นบ้าน (3) ขั้น
            sampling) คัดเลือกเฉพาะหมอนวดพื้นบ้านที่ได้ขึ้น  ตอนการนวดรักษา และ (4) ปัญหา อุปสรรคและข้อ

            ทะเบียนแล้วจากภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก  เสนอแนะ
            เฉียงเหนือ และภาคใต้ ได้มาจำานวน 42 คน
                 ขั้นตอนที่ 2 ใช้การสุ่มแบบเจาะจง (purposive   ก�รคุ้มครองผู้ให้ข้อมูล

            sampling) โดยการกำาหนดคุณสมบัติเฉพาะ ได้แก่ 1)       เกณฑ์การคัดเลือกหมอนวดพื้นบ้านเข้าร่วม
            เป็นหมอนวดพื้นบ้าน 2) มีประสบการณ์รักษาตั้งแต่   โครงการ (inclusion criteria) ให้ความยินยอมสมัคร
            20 ปีขึ้นไปและมีผู้ป่วยมารับการรักษาอย่างน้อยเดือน  ใจเข้าร่วมโครงการโดยผู้วิจัยชี้แจงแนะนำารายละเอียด

            ละ 30 ราย 3) ยินยอมให้ความร่วมมือด้วยความสมัคร  ของโครงการฯ จนหมอพื้นบ้านมีความเข้าใจตรงกัน จึง
            ใจ และเปิดเผยข้อมูลภูมิปัญญา และ 4) การเดินทาง  ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานในใบยินยอมฯ ก่อนเข้าร่วม

            เก็บข้อมูลได้สะดวกและปลอดภัย ทำาให้ได้ผู้ให้ข้อมูล  โครงการฯ กรณีที่หมอนวดพื้นบ้านไม่ต้องการเปิดเผย
            จาก 42 คน เหลือ 15 คน   ขั้นตอนที่ 3 ใช้การสุ่ม  ข้อมูลภูมิปัญญาของตนเองต่อไปแล้ว สามารถบอกยุติ
            แบบรายกรณี (case study) โดยการกำาหนดเกณฑ์   การเข้าร่วมโครงการ  ได้โดยไม่ต้องให้เหตุผลใด ๆ กับ

            คัดเลือก ได้แก่ 1) ยินยอมให้ความร่วมมือด้วยความ  ผู้วิจัย ผู้วิจัยรับรองว่าจะเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับของ
            สมัครใจ และเปิดเผยข้อมูลภูมิปัญญาการรักษาของ  หมอพื้นบ้านและข้อมูลภูมิปัญญาฯ ของหมอพื้นบ้าน

            ตนเองโดยไม่ปิดบัง 2) อนุญาตให้เยี่ยมบ้านและการ  เป็นความลับ และจะเปิดเผยได้เฉพาะในรูปที่เป็นการ
            เดินทางสะดวกและปลอดภัย และ 3) อนุญาตให้เก็บ  สรุปผลการวิจัย หรือการเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ที่มีหน้าที่
            รวบรวมข้อมูลการรักษาโดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การ  เกี่ยวข้องกับการสนับสนุนกำากับดูแลการวิจัย

            จดบันทึก การสังเกต การบันทึกเสียงและภาพ เกี่ยวกับ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44