Page 43 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 43

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 17  No. 1  Jan-Apr 2019  33




            ภูมิปัญญาของหมอนวดพื้นบ้านภาคใต้ และ 1 ใน 2   หมอพื้นบ้านทำาการประเมินผลขณะทำาการรักษา และ
            ของหมอนวดพื้นบ้านภาคกลาง ที่เลือกไม่ใช้สมุนไพร  หลังการรักษา เปรียบเทียบกับก่อนการรักษา และ

            ในการนวดรักษา                               ประเมินคุณภาพชีวิตก่อนการรักษา และหลังการรักษา
                 “สืบทอดมาให้นวดด้วยมือจับให้ถึงเส้นที่จม...     ภูมิปัญญาของหมอนวดพื้นบ้านทุกภาคมีความ
            พัฒนามามีอุปกรณ์ช่วย...เก้าอี้เล็ก ผ้าขนหนู หมอน  สอดคล้องกัน ดังตัวอย่าง

            เล็กเอาไว้รองนวด...ผ้าข้าวม้าเอาไว้คล้องดึงตัวไว้ตอน     “ก่อนรักษายกแขนไม่ขึ้น...นวดสองสามครั้งก็
            ที่แม่ใช้เท้านวด”                           ยกแขนได้ปกติ”
                 “ช่วงฝึกหัดเดินต้องทำาราวไม้ไผ่ให้เกาะเดิน…     “มีอาการชาลงขาไม่มีความรู้สึก...เริ่มปวดแสบ

            ตอนนอนฝึกให้ชักรอกเท้าทำาด้วยตนเอง”         ปวดร้อน...แสดงว่าเลือดลมเริ่มวิ่ง”
                    3) วิธีการอื่นตามความเชื่อ วิธีการนี้     “ปวดหลังปวดคอนั่งนาน...ต้องนวดหลังและทา
            เป็นการรักษาร่วมกับการนวดเพื่อการรักษาตามที่กล่าว  นำ้ามันมนต์...ไปทำางานได้ปกติ”

            มาแล้วว่าครู (ผู้ล่วงลับ) ให้องค์ความรู้ซึ่งผ่านมาทาง     “ขณะนวด...เจ็บไม่เจ็บตรงไหนบอกด้วย...ร้อน
            สัมผัสที่หก (สิ่งเหนือธรรมชาติ) ทำาให้หมอนวดพื้นบ้าน  วูบวาบตรงไหน”

            บางคนมีญาณพิเศษสามารถติดต่อกับสิ่งเหนือธรรมชาติ      “อยู่ติดบ้านติดเตียง...ให้ฝึกชักรอกก่อน...เก่ง
            ที่เรียกว่า “เจ้ากรรมนายเวร” ซึ่งถ้าติดต่อได้แล้วสอบถาม  ขึ้นให้เดินเกาะราวไม้ไผ่”
            เจ้ากรรมนายเวรว่าต้องการบุญกุศลอะไร หรือต้องการ         2.3.4 ขั้นตอนวิธีการฟื้นฟูสภาพ

            สิ่งใด หมอพื้นบ้านก็จะแนะนำาให้ผู้ป่วยไปทำาตามในสิ่ง  ร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ
            ที่เจ้ากรรมนายเวรต้องการ เพื่อให้เจ้ากรรมนายเวรได้         การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ และจิต

            อโหสิกรรมให้ หมอนวดพื้นบ้านทุกคน ได้สืบทอดระบบ  วิญญาณ หมอนวดพื้นบ้านไม่ใช้การรักษาเฉพาะโรคที่
            คิด ความเชื่อในเรื่องสัมผัสที่หก บาป บุญ คุณ โทษ และ  เป็นอยู่ กำาเริบอยู่ ที่มีอาการและอาการแสดงอยู่ก็ตาม
            ความกตัญญู ดังตัวอย่าง                      แต่การรักษาด้วยการแพทย์พื้นบ้านนั้นจะรักษาแบบ

                 “ตอนเริ่มรักษาใหม่ ๆ ความรู้ยังน้อย...ต้องจุด  องค์รวม คือ ด้านร่างกาย (โรคที่เป็น) จิตใจ (ทำาให้รู้สึก
            ธูปอธิษฐานบอกกล่าวครูให้เกิดปัญญาแก้ไข...”  ผ่อนคลาย สบายใจ) และ จิตวิญญาณ (มีสิ่งยึดเหนี่ยว
                 “จัดพิธีไหว้ครูวันพฤหัสแรกเดือนหกทุกปี...  จิตใจ เกิดพลัง และมีความหวัง) โดยมีครอบครัวให้การ

            เป็นการระลึกถึงครูบาอาจารย์...”             สนับสนุนดูแล และมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน ด้านร่างกาย
                 “สัมผัสที่หกเป็นวาสนาเฉพาะตัว...พ่อก็ไม่รู้ว่า  สังเกตอาการ...ดีขึ้น..คงที่..หรือแย่ลง ส่วนด้านจิตใจ
            มาได้อย่างไร...อธิบายไม่ถูก”                และจิตวิญญาณ ดังตัวอย่าง

                 “...หายแล้วอย่าลืมไปทำาบุญอุทิศส่วนกุศล...     “ขณะทำาการนวดก็จะพูดคุยให้ความรู้ ให้กำาลัง
            เชิญมาร่วมงานวันไหว้ครูประจำาปี”            ใจและเล่าเรื่องความศรัทธาในพุทธศาสนา ความเชื่อ

                 “ก่อนการรักษาต้องบูชาครูเสมอ...เดี๋ยวการ  กฎแห่งกรรม ช่วยปลูกจิตสำานึกทางจิตวิญญาณ”
            รักษาไม่สัมฤทธิ์ผล”                              “…ป่วยจากอุบัติเหตุให้หาวิธีป้องกันหรือระมัดระวัง
                           2.3.3.2 การประเมินผลการรักษา   ให้ดี...ทำาบุญตามความเชื่อและศรัทธา”
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48