Page 38 - วารสารปีที่17ฉบับที่1
P. 38

28 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 17  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2562




           ดังนั้นผู้นวดจึงควรเป็นผู้เชี่ยวชาญ หมอนวดพื้นบ้าน  การถูกละเลยมาเป็นเวลานาน การอนุรักษ์ภูมิปัญญา
           ที่ให้บริการนวดก็ควรเป็นผู้ที่มีความรู้ที่ได้รับการ  ไทยในรูปแบบที่สมบูรณ์ครบถ้วนอันรวมถึงจิต

           สืบทอดองค์ความรู้ หรือมีประสบการณ์ในการนวด  วิญญาณของภูมิปัญญาไทย โดยเฉพาะในบริบทของ
           เป็นอย่างดี                                 สังคมไทยปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปจากรากเหง้าเดิม
                หมอพื้นบ้าน เป็นผู้ที่มีความสำาคัญต่อการดูแล  การอนุรักษ์ภูมิปัญญาที่สำาคัญและเหมาะสม คือ วิธี

           สุขภาพของคนในชุมชน โดยเฉพาะผู้ที่อาศัยอยู่ใน  การและรูปแบบการวิจัยที่เหมาะสม เพื่อสื่อสารกับ
           ถิ่นทุรกันดารห่างไกลจากโรงพยาบาล เมื่อเกิดการ  โลกยุคปัจจุบันได้ซึ่งต้องใช้ศาสตร์ที่หลากหลายและ
           เจ็บป่วย การไปรักษากับหมอพื้นบ้านจึงเป็นการรักษา  เหมาะสมในแต่ละด้าน ทั้งวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการ

           ทางเลือกหนึ่งที่ใช้บริการได้สะดวก รวดเร็ว ผู้ป่วยและ  นำามาใช้ตามแนวคิดขององค์การอนามัยโลก และ
           ญาติรู้สึกอุ่นใจต่อการได้รับการดูแลรักษา เพราะหมอ  สังคมศาสตร์ เพื่อให้เกิดมาตรการที่เข้าถึงได้ การมี
           พื้นบ้านมีความเป็นกันเอง คอยเอาใจใส่ และการเดิน  ใช้อย่างสมเหตุสมผล เมื่อมีการใช้อย่างแพร่หลาย

           ทางสะดวกเพราะอาศัยกันอยู่ในชุมชน หมอพื้นบ้าน  แล้ว การอนุรักษ์ที่ดีที่สุด และองค์ความรู้ที่ได้จาก
           ให้การดูแลที่ตอบสนองต่อผู้ป่วยได้เป็นที่พึงพอใจ   การวิจัยที่ดีสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการคุ้มครอง

           ทำาให้ได้การดูแลด้านจิตใจ จิตวิญญาณ แบบองค์รวม  ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย
                                                                   [2]
           และด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์จากชุมชน แต่น่าเสียดาย  ได้อย่างดีอีกด้วย
           ที่ปัจจุบันหมอพื้นบ้านส่วนใหญ่ ไม่มีผู้สืบทอดองค์ความ     ด้วยเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะอาจารย์

           รู้ และหมอพื้นบ้านก็มีอายุมากขึ้น ซึ่งองค์ความรู้ในตัว  พยาบาล จึงเล็งเห็นความสำาคัญในการนวดรักษา
           ของหมอพื้นบ้านที่มีอยู่ในปัจจุบันเหล่านี้ หากไม่มีการ  ของหมอพื้นบ้านที่ยังคงรักษาภูมิปัญญาดั้งเดิมไว้

           เก็บรวบรวมภูมิปัญญาการนวดรักษาของหมอพื้นบ้าน  นอกจากนี้ยังตระหนักถึงความสำาคัญของการผลิต
           ไว้อย่างเป็นระบบในเชิงวิชาการแล้ว องค์ความรู้และ  บัณฑิตพยาบาลให้มีความรู้ความสามารถในการดูแล
           ประสบการณ์ดังกล่าวจะต้องสูญหายไปพร้อมกับการ  สุขภาพแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม โดยไม่จำาเป็น

           เสียชีวิตของตัวหมอเองซึ่งก็มีอายุมากแล้วในขณะนี้   ต้องใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผล จึงสนใจที่ทำาการ
                องค์การอนามัยโลก มียุทธศาสตร์ในการ     ศึกษาด้วยการทำาวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่อง “ภูมิปัญญา
           พัฒนาการแพทย์พื้นบ้าน รวมถึงการแพทย์แผนไทย   การนวดพื้นบ้านเพื่อการรักษาโรค: กรณีศึกษาหมอ

           โดยการผสมผสานการแพทย์พื้นบ้านกับระบบการ     นวดพื้นบ้าน 5 ราย” โดยทำาการศึกษาและรวบรวม
           สาธารณสุขของประเทศที่มีการแพทย์แผนปัจจุบัน  ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในการนวดรักษาไว้อย่าง
           เป็นการแพทย์กระแสหลักอยู่ในปัจจุบัน โดยเน้นการ  เป็นระบบในเชิงวิชาการ และยังเป็นการสืบทอด

           สร้างองค์ความรู้ด้านความปลอดภัย ประสิทธิภาพ  ภูมิปัญญาไทยของบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่นต่อไป โดย
           และคุณภาพ เพื่อการใช้อย่างสมเหตุสมผล ทำาให้คน  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภูมิปัญญาการนวดรักษาของ

           ทุกระดับเข้าถึงและสามารถใช้ได้อันจะนำาไปสู่การ  หมอนวดพื้นบ้าน และรวบรวมสมุนไพรและตำารับยา
           อนุรักษ์และพัฒนาการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์  ที่ใช้นวดรักษาของหมอนวดพื้นบ้าน
           แผนไทยอย่างยั่งยืน” แต่ปัญหาของภูมิปัญญาไทย คือ
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43