Page 30 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 30
แนวคิด หลักการ องค์ความรู้พื้นฐาน 29
บ�ารุง ภายหลังการให้ยารักษาอาการต่างๆ ดีขึ้นแล้ว จะมียาที่ใช้รักษาอาการไม่สุขสบาย ยาบ�ารุงที่ช่วยให้
เจริญอาหาร เพิ่มภูมิต้านทานของร่างกาย เพื่อฟื้นฟูสภาพและปรับสมดุลร่างกาย
2. ใช้ยารักษาโรคมะเร็ง ตัดรากฝี งฝีมะเร็งต่าๆ โดยใช้ต�ารับยาในคัมภีร์การแพทย์แผนไทย ต�าราแพทย์ศาสตร์
สงเคราะห์ ต�าราเวชศาสตร์ฉบับหลวง จารึกต�ารายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ต�ารายาเกร็ดแก้โรคต่างๆ ต�ารายา
หลวงปู่สุขวัดปากคลองมะขามเฒ่า ฯลฯ
3. ใช้ยารักษาตามสาเหตุและอาการไม่สุขสบายต่างๆ โดยใช้ยาในต�าราการแพทย์แผนไทย ยาสมุนไพรใน
บัญชียาหลัก ยาสมุนไพรประจ�าบ้าน ยาสมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน สมุนไพรเชิงเดี่ยว ฯลฯ
4. ใช้ยาในต�าราการแพทย์แผนไทย หรือยาต�ารับที่แพทย์แผนไทยตั้งปรุงเฉพาะรายหรือเรียบเรียงปรับต�ารับ
และเคยใช้ได้ผล
การวิเคราะห์รสยาในการรักษามะเร็ง
รสยาที่มีความส�าคัญในการรักษาโรคมะเร็งมีดังนี้
- รสเมาเบื่อ ได้แก่ ข้าวเย็นเหนือ - ใต้ หัวร้อยรู รากฝีมอบ ดับพิษร้อน ฟอกน�้าเหลือง แก้น�้าเหลืองหรือ
ปรับน�้าเหลือง
- รสฝาด ได้แก่ สมอไทย บ�ารุงตับ ช่วยระบาย
- รสเย็น ได้แก่ บัวบก เกสรทั้ง 5 ดับพิษร้อน บ�ารุงร่างกาย, ทนดี เป็นยารุ
- รสเย็นจืด ได้แก่ ฝาง กฤษณา บ�ารุงร่างกาย บ�ารุงเลือด
- รสสุขุม ได้แก่ โกฐทั้ง 5 ดับพิษร้อน กระจายลมให้ไหลเวียน
- รสสุขุมร้อน ได้แก่ เทียนทั้ง 5 โกฐเชียง ขับคูถเสมหะ กระจายลม ปรับสมดุลลม
- รสร้อน ได้แก่ สักขี ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู กระจายลม ให้ไหลเวียนดีขึ้น
- รสจืดเย็น ได้แก่ หญ้าหนวดแมว ขับปัสสาวะ เพื่อช่วยขับธาตุน�้าที่เป็นส่วนเกินออกเพื่อให้ร่างกาย
ปรับสมดุล
ถ้าผู้ป่วยอ่อนเพลียมาก ท้องบวม ตรวจแล้วพบว่ามีไฟก�าเริบ ไม่ถ่าย ยาที่ใช้จะต้องเป็นยารสสุขุมเย็น
ร่วมกับรสเมาเบื่อ และถ้าธาตุไฟไม่ก�าเริบ ก็จะเพิ่มสมุนไพรกลุ่มขับลม ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู หรือสมุนไพร
บ�ารุงร่างกาย เช่น บอระเพ็ด กระจับ แห้ว ก�าลังราชสีห์ หรือใช้ตรีผลา ซึ่งเป็นยาระบายและเป็นยาถ่ายทางเสมหะ
และระงับปิตตะ ในกรณีที่คนไข้มีปิตตะไม่ก�าเริบมาก เช่น หลังจากรักษาไปได้ระยะหนึ่ง จะแทรกตรีผลาเข้าไป
ถ้าบางรายลมหย่อนมาก ก็จะเพิ่มยารสร้อน ได้แก่ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู เพื่อกระจายลม
ต�ารับยาสมุนไพรที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคอง
การรักษาผู้ป่วยในทางการแพทย์แผนไทยไม่ได้มุ่งแต่เฉพาะโรคที่เป็น แต่จะพิจารณาถึงความสมดุลของ
กองธาตุต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน ในส่วนของกองธาตุที่ก�าเริบ หย่อน พิการ และระดับของโรค เอกโทษ ทุวันโทษ
ตรีโทษ สันนิบาต การรักษาจึงมียาหลายต�ารับ มีทั้งต�ารับยารักษาเฉพาะโรค เฉพาะอาการ เพื่อความสะดวกในการ
เลือกใช้ให้เหมาะสมกับโรคและอาการตามภาวะที่เป็นของผู้ป่วยแต่ละราย การเลือกใช้ต�ารับยาในการบ�าบัดรักษา
จึงมีความส�าคัญและมีความจ�าเป็นที่ต้องวินิจฉัย วิเคราะห์โรค และประมวลการวางยา แบ่งเป็น การใช้ยารักษา
โรคที่เป็น และการใช้ยารักษาอาการไม่สุขสบายต่างๆ ที่ท�าให้ผู้ป่วยเกิดความทุกข์ทรมาน โดยใช้ยาต�ารับในคัมภีร์
การแพทย์แผนไทย ยาปรุงเฉพาะรายที่เรียบเรียงปรับต�ารับและเคยใช้ได้ผล หรือยาสมุนไพรในบัญชียาหลัก เช่น
การรักษาผู้ป่วยมะเร็งท่อน�้าดีและมะเร็งตับแบบประคับประคอง ยาที่ใช้รักษามะเร็งท่อน�้าดี จะเป็นยารักษาในขั้นมี
การอักเสบ บวม ของตัวตับ ส่วนของระบบน�้าดีผิดปกติ ก�าเริบ หย่อน พิการ จะมียาอีกกลุ่มใช้รักษาอาการตามภาวะ
ที่เป็น การใช้ยาเบญจอ�ามฤตประกอบการรักษา อาการโรคจะทุเลาลงได้ดี หรือ จะน�ายาในกลุ่มที่รักษาตับอักเสบ
เข้ามาใช้ร่วมกับยาหลักได้เช่นกัน