Page 117 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 117

116       คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง (Palliative Care)



            การเลือกบทสวดมนต์บ�าบัด
                    การเลือกบทสวดมนต์เพื่อการบ�าบัดส�าหรับผู้ป่วยแบบประคับประคองนี้ เป็นบทสวดในพระพุทธศาสนาที่
            พุทธศาสนิกชนนิยมสวดกันทั่วไปเป็นกิจวัตร หรือเป็นพุทธมนต์ในพิธีต่างๆ เช่น ที่อโรคยศาลวัดค�าประมงให้ผู้ป่วย
            สวดในพิธีต้มยาและสวดเป็นประจ�าทุกวันตอนเช้าและเย็น หรืออาจเลือกท่อนใดท่อนหนึ่งแล้วสวดซ�้าไปมาก็ได้ ซึ่ง

            เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้เกิดสมาธิ ความนิ่ง สงบ และหากมีความต่อเนื่องในการปฏิบัติรวมทั้งเรียนรู้ในการสวดมนต์
            อย่างถูกต้อง ก็จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สวดมนต์เกิดพลังในการน้อมน�ากุศลจิต เยียวยาตนเองและผู้อื่นให้มีสุขภาพกายและ
            ใจเป็นสุข ได้แก่
                    1) บทสวดพระคาถาพุทธชัยมงคล
                    2) บทสวดพระคาถาชัยปริตร
                    3) บทสวดพระคาถาโพชฌังคปริตร
                    4) บทสวดพระคาถาอะภะยะปะริตตัง
                    5) บทสวดพระคาถาสักกัตวา
                    6) บทกรวดน�้า

                    7) บทแผ่เมตตา
            โดยมีรายละเอียดดังนี้


                                              บทสวดพระคาถาพุทธชัยมงคล

                    พระคาถาพุทธชัยมงคลนี้ กล่าวถึงชัยชนะของพระจอมมุนี คือ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่มีต่อ
            เหล่าอธรรม  คือพระยามารและเสนามารทั้งหลาย  ด้วยเดชและอ�านาจในบุญบารมีของพระองค์ที่สั่งสมมา
            อย่างยาวนานเป็นอเนกอนันต์ ซึ่งมีอานุภาพมากหรือมีพุทธานุภาพมากนั้นเอง ท�าให้ผู้ที่เคารพ เลื่อมใส และศรัทธา
            ที่สวดพระคาถานี้และน้อมร�าลึกนึกถึงเหตุการณ์ในพุทธกาล ทั้ง 8 บท หรือ 8 ปรากฏการณ์นั้นอยู่เสมอๆ จะท�าให้
            สามารถยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น อานิสงส์ของการสวดพระคาถานี้เป็นประจ�า ผู้สวดจะประสบโชคดีและชนะปัญหา
            อุปสรรคและศัตรูหมู่มาร การสวดพระคาถานี้จะเริ่มต้นด้วยการตั้ง นะโม 3 จบ ทุกครั้งและต่อด้วยบทสวด ดังนี้



              นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต         ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจาก
              สัมมาสัมพุทธัสสะ                     กิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
                                                   (3 จบ)


              อิติปิ โส ภะคะวา                     พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลสเป็นผู้ตรัสรู้ชอบ
              อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ                ได้ด้วยพระองค์เองเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเป็นผู้เสด็จ
              วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต           ไปแล้วด้วยดี เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควร
              โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ  ฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่าเป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
              สัตถา เทวะมนุสสานัง                  เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม เป็นผู้มีความเจริญจ�าแนกธรรม
              พุทโธ ภะคะวา ติ.                     สั่งสอนสัตว์ ดังนี้



              สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม              พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว เป็นธรรมที่พึงเห็น
              สันทิฏฐิโก อะกาลิโก                  ได้ด้วยตนเอง เป็นธรรมที่ให้ผลได้ไม่จ�ากัดกาล เป็นธรรมที่ควรกล่าวว่า
              เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก               ท่านจงมาดูเถิด เป็นธรรมที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว เป็นธรรมที่พึงรู้ได้
              ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.       เฉพาะตน ดังนี้
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122