Page 120 - คู่มือการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง(Palliative Care) แบบบูรณาการ
P. 120
ภาคผนวก 119
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ท่านด้วยอนุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง ขอความสวัสดี
ทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ท่านด้วยอนุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง ขอความสวัสดี
ทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน ขอเหล่าเทวดาทั้งปวงจงรักษา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ท่านด้วยอนุภาพแห่งพระสงฆ์ ทั้งปวง ขอความสวัสดี
ทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
หมายเหตุ
พวกพราหมณ์ถือว่า การประทักษิณคือการเดินเวียนขวารอบสิ่งศักดิ์สิทธิ์และบุคคล ที่ตนเคารพนั้น เป็นการ
ให้เกียรติและเป็นการเคารพสูงสุด เป็นมงคลสูงสุด เพราะฉะนั้น บาลีที่แสดงไว้ว่า กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม
ความปรารถนาและการที่กระท�ากรรมทั้งหลาย เป็นประทักษิณอันเป็นส่วนเบื้องขวาหรือเวียนขวานั้น จึงหมายถึง
การท�าการพูดการคิดที่เป็นมงคล และผลที่ได้รับก็เป็นประทักษิณ อันเป็นส่วนเบื้องขวาหรือเวียนขวา ซึ่งหมายถึง
ได้รับผลที่เป็นมงคลอันสูงสุดนั่นแล
บทสวดพระคาถาโพชฌังคะปะริตตัง
โพชฌังคปะริตตังหรือโพชฌังคปริตร แปลว่า องค์แห่งโพธิหรือองค์แห่งโพธิญาณ เป็นองค์แห่งการตรัสรู้
ซึ่งเป็นเรื่องของปัญญา เป็นหลักธรรมหมวดหนึ่งในสังยุตตนิกาย มหาวรรค ซึ่งในพระไตรปิฎกกล่าวว่า เป็นธรรม
เกี่ยวกับปัญญา เป็นธรรมชั้นสูง ซึ่งเป็นความจริงในเรื่องการท�าจิตใจให้สว่าง สะอาดผ่องใส สามารถช่วยรักษาใจ
เนื่องจากกายกับใจเป็นสิ่งที่อาศัยกันและกัน พุทธศาสนิกชนจึงพากันเชื่อว่าเป็นพุทธมนต์ที่ช่วยให้คนป่วยที่ได้
สดับตรับฟังธรรมบทนี้แล้วสามารถหายจากโรคภัยไข้เจ็บได้ ที่เชื่ออย่างนี้เพราะมีเรื่องในพระไตรปิฎกเล่าว่า
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จไปเยี่ยมพระมหากัสสปะที่อาพาธ พระองค์ทรงแสดงโพชฌังคปริตรแก่พระมหากัสสปะ
หลังจากนั้นพระมหากัสสปะก็หายจากอาพาธ อีกครั้งหนึ่งพระองค์ได้ทรงแสดงธรรมบทนี้แก่พระโมคคัลลานะ
ซึ่งอาพาธ หลังจากนั้น พระโมคคัลลานะก็หายจากอาพาธ และเมื่อพระพุทธองค์ทรงอาพาธ ได้ตรัสให้พระจุนทะเถระ
แสดงโพชฌังคปริตรถวาย ซึ่งพระพุทธเจ้าก็หายจากประชวร
โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา โพชฌงค์ 7 ประการ คือ สติสัมโพชฌงค์ ธรรมวิจัยสัมโพชฌงค์
วิริยัมปีติปัสสัทธิ โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร. วิริยสัมโพชฌงค์ ปีติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเต เต สัพพะทัสสินา สมาธิสัมโพชฌงค์ และอุเบกขาสัมโพชฌงค์ เหล่านี้ เป็นธรรม
มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา. อันพระมุนีเจ้า ผู้ทรงเห็นธรรมทั้งปวงตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคล
สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา เจริญแล้วกระท�าให้มากแล้วย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อความ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. ตรัสรู้ และเพื่อนิพพานด้วยการกล่าวค�าสัตย์นี้ ขอความสวัสดี
จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ
เอกัสมิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปัง ในสมัยหนึ่ง พระโลกนาถเจ้า ทอดพระเนตร พระโมคคัลลานะ
คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ และพระมหากัสสปะอาพาธได้รับทุกขเวทนาแล้ว จึงทรงแสดง
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ โพชฌงค์ 7 ประการ ให้ท่านทั้งสองฟัง ท่านทั้งสองนั้น ชื่นชม
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา. ยินดียิ่ง ซึ่งโพชฌังคธรรม โรคก็หายได้ในบัดดลด้วยการกล่าว
ค�าสัตย์นี้ ขอความสวัสดี จงบังเกิดมีแก่ท่าน ตลอดกาลทุกเมื่อ