Page 29 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 29
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 3 Sep-Dec 2020 461
สาร essential oils มีประสิทธิผลสัมพันธ์กับขนาด ลดอาการบวมที่อุ้งเท้าหนูขาวที่ถูกเหนี่ยวนำาด้วยสาร
ของยาที่ใช้ในการรักษา และมีฤทธิ์ยับยั้งดีกว่ายา คาร์ราจีแนน (carrageenan) เมื่อทำาการทดสอบ
[26]
Ibuprofen และจากการศึกษาสารสกัด essential ฤทธิ์ระงับปวดที่เหนี่ยวนำาโดยกรดอะซิติก (acetic
oils จากว่านนางคำาต่อการยับยั้งการอักเสบของใบหู acid) ความร้อน และฟอร์มาลิน (formalin) ในหนู
ของหนู พบว่า สารสกัดที่ขนาดเท่ากับ 100 มิลลิกรัม ถีบจักร รวมทั้งฤทธิ์ลดไข้ที่เหนี่ยวนำาโดยยีสต์ในหนู
ต่อกิโลกรัม สามารถยับยั้งการอักเสบได้ 68.26% ขาว ขนาดของสารสกัดชั้นคลอโรฟอร์มและสารสกัด
และจากการศึกษาต่อเนื่องพบว่า สารสกัด essential ชั้นเมทานอลที่ทำาให้หนูถีบจักรตาย 50% เมื่อป้อน
oils จากว่านนางคำา สามารถลดปริมาณของ COX-2 ทางปาก มีค่าเท่ากัน คือ 3.03 กรัมต่อกิโลกรัม ไม่มี
้
และ TNF-α ได้อย่างมีนัยสำาคัญ ในส่วนของสาร หนูถีบจักรตายเมื่อป้อนสารสกัดชั้นนำาทางปากใน
[27]
สกัดหยาบมีการศึกษาสารสกัดของว่านนางคำาชั้น ขนาดสูง 10 กรัมต่อกิโลกรัม การป้อนสารสกัดเหง้า
เมทานอลที่ขนาดเท่ากับ 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ใน ว่านมหาเมฆชั้นคลอโรฟอร์มและเมทานอล (ขนาด
การลดอาการปวดและบวมของหนู เทียบกับสมุนไพร 100-400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ทางปากในหนูถีบ
อื่นในสกุล Curcuma species พบว่า สารสกัดของ จักร สามารถลดจำานวนครั้งของการบิด (writhings)
ว่านนางคำาชั้นเมทานอลสามารถยับยั้งการเหนี่ยวนำา และยืด (stretchings) ของลำาตัว เมื่อหนูถีบจักรถูก
เอนไซม์ COX-2 ได้เล็กน้อยเมื่อเทียบกับสมุนไพร กระตุ้นโดยกรดอะซิติก (acetic acid) เฉพาะสารสกัด
อื่น ๆ และมีการศึกษาสารสกัดเหง้าว่านนางคำาชั้น ชั้นคลอโรฟอร์มเท่านั้นที่สามารถลดการเลีย (licking)
[28]
้
นำาต่อการยับยั้งอาการปวดและบวมของหนูที่ได้รับ ในช่วงเฟสหลังของการทดสอบด้วยฟอร์มาลินในหนู
ความร้อนด้วยวิธี Eddy’s hot plate พบว่าสารสกัด ถีบจักร ไม่มีสารสกัดใดจากเหง้าของว่านมหาเมฆที่มี
สามารถลดอาการเจ็บปวดได้ [29] ผลต่อความเจ็บปวดที่เกิดจากความร้อนในหนูถีบจักร
อาการไข้ที่เหนี่ยวนำาด้วยยีสต์ และการบวมของอุ้งเท้า
4. ว่�นมห�เมฆ ที่เหนี่ยวนำาด้วยสารคาร์ราจีแนนในหนูขาว จากผลการ
ว่านมหาเมฆ (Waan Ma Ha Mek) มีชื่อ ทดลองนี้เสนอว่า สารสกัดด้วยคลอโรฟอร์มจากเหง้า
วิทยาศาสตร์คือ Curcuma aeruginosa Roxb. อยู่ ของว่านมหาเมฆ มีฤทธิ์ระงับปวด โดยมีกลไกการ
ในวงศ์ Zingiberaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากแอสไพริน สารสกัดเหง้า
[30]
ของว่านมหาเมฆเป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อ ว่านมหาเมฆชั้นเอทานอล 70% ที่ความเข้มข้น 25, 50
ในหัวมีทั้งขาว เหลือง เขียวและดำา ใบเดี่ยว กลางใบ และ 100 ppm สามารถยับยั้งการหลั่ง NO จากเซลล์
มีสีแดงเป็นเส้น เป็นสมุนไพรที่ใช้รักษากลุ่มอาการ เม็ดเลือดขาวของหนูชนิด RAW 264.7 ที่ถูกเหนี่ยว
ทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ทางการแพทย์แผน นำาด้วย lipopolysaccharides (LPS) ได้ 84.426%,
ไทยใช้รักษาอาการปวดมดลูกและแก้อักเสบในสตรี 83.606% และ 78.278% ตามลำาดับ เมื่อนำา
[31]
้
หลังคลอดบุตร ทำาให้มดลูกเข้าอู่เร็ว จากงานวิจัย โปรตีนไฮโดรไลเซทที่แยกได้จากสารสกัดชั้นนำาของ
พบว่าเหง้าว่านมหาเมฆที่ถูกสกัดด้วยคลอโรฟอร์ม เหง้าว่านมหาเมฆ (yield = 1.3%, โปรตีน (protein)
้
(chloroform) เมทานอล (methanol) และนำา สามารถ = 75 ± 1.5%, คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)