Page 32 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 32

464 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563




           เมทานอลมีความเป็นพิษต่อไรทะเล (brine shrimp)   พลับพลึงสดให้ปริมาณไลโครีน 2.35 ± 0.09 มิลลิกรัม
           และเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด P388 D1 มีค่า LC    ต่อมิลลิลิตร ซึ่งใบพลับพลึงที่ผ่านกระบวนการอบ
                                                  50
           เท่ากับ 257.1 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร และ 12.5   แห้งให้ปริมาณไลโครีนมากถึงเกือบ 2 เท่าของใบ
                                      [42]
           ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำาดับ  นอกจากนี้ยัง  พลับพลึงสด ดังนั้นใบพลับพลึงที่ผ่านการให้ความ
           พบว่าสารสกัดใบและหน่อของพลับพลึงชั้นเอทานอล   ร้อนด้วยกระบวนการอบแห้งจึงถูกเลือกเพื่อศึกษาผล

           มีความเป็นพิษต่อไรทะเล (brine shrimp) โดยมีค่า   ของอุณหภูมิ (50, 70, 100 และ 120 องศาเซลเซียส)
           LD  243.331 และ 507.838 ppm ตามลำาดับ จาก   และเวลา (10, 30, และ 60 นาที) ต่อสารออกฤทธิ์ทาง
              50
           การนำาพลับพลึงมาศึกษาเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านการอักเสบ   ชีวภาพในใบพลับพลึง พบว่าใบพลับพลึงที่ผ่านการ

           พบว่า สารสกัดจากรากพลับพลึงชั้นเอทานอล 95%   อบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30
           มีฤทธิ์ยับยั้งการอักเสบผ่านการยับยั้งการหลั่ง NO   นาที ให้ปริมาณไลโครีนมากที่สุด สารสกัดทั้งหมด
           จากเซลล์เม็ดเลือดขาวของหนูชนิด RAW 264.7 ที่   ได้ทดสอบฤทธิ์ในการต้านแอนตี้ออกซิแดนท์พบว่า

                                                 [43]
           โดยค่า IC  เท่ากับ 83.5 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร    ใบพลับพลึงอบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส
                   50
           มีการนำาสารสกัดจากใบพลับพลึงมาทดสอบการลด    เวลา เป็นเวลา 30 นาที และ 100 องศาเซลเซียส เป็น
           ปวดและลดบวมของอุ้งเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำาการ  เวลา 10 นาที ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุด
           อักเสบด้วย 1% (w/v) carrageenan พบว่าเมื่อสาร  ผลของสารสกัดจากใบพลับพลึงต่อการยับยั้งการ
           สกัดสามารถยับยั้งการอักเสบของอุ้งเท้าหนูได้ 51.60   อักเสบ พบว่าที่ความเข้มข้นสารสกัด 0.1 ไมโครกรัม

           ± 2.50% ที่ 1 ชั่วโมงแรกหลังให้สารสกัด และ 40.80 ±   ต่อมิลลิลิตร ใบพลับพลึงอบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศา
                                    [44]
           0.52% ที่ 4 ชั่วโมงหลังให้สารสกัด  และมีการทดลอง  เซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที และ 100 องศาเซลเซียส
           โดยใช้สารสกัดจากหน่อของพลับพลึงในการลดการ   เป็นเวลา 10 นาที สามารถยับยั้งการอักเสบได้ดีที่สุด
           อักเสบของอุ้งเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำาการอักเสบด้วย   โดยยับยั้งได้ดีกว่าสารประกอบพาทีโนไลด์ ในขณะ
                                                                           ่
           1% (w/v) carrageenan พบว่า หลังจากให้สารสกัด  ที่ใบพลับพลึงสดมีฤทธิ์ตำาที่สุด ดังนั้นใบพลับพลึง
           ที่ขนาด 1.5 และ 2 กรัมต่อกิโลกรัม เป็นระยะเวลา 3   ที่ผ่านกระบวนการให้ความร้อนด้วยวิธีอบแห้ง โดย
           ชั่วโมง สามารถลดการอักเสบได้ดี คิดเป็น 52.56%   เฉพาะการอบแห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็น
                              [45]
           และ 47.37% ตามลำาดับ  นอกจากนี้ยังพบว่า สาร  เวลา 30 นาที มีผลในการเพิ่มปริมาณไลโครีน ซึ่งเป็น
           สกัดจากใบพลับพลึงที่ผ่านกระบวนการให้ความร้อน   สารประกอบที่มีศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระและ
           2 รูปแบบ คือ การนึ่ง (อุณหภูมิ 95 องศาเซลเซียส, 1   ต้านการอักเสบได้ [46]
           ชั่วโมง) และการอบแห้ง (อุณหภูมิ 160 องศาเซลเซียส,

           10 นาที) เปรียบเทียบกับสารสกัดจากใบพลับพลึงสด             อภิปร�ยผล
           ใบพลับพลึงนึ่งและใบพลับพลึงอบแห้งให้ปริมาณสาร     การทับหม้อเกลือเป็นกระบวนการหนึ่งในการ

           ไลโครีน (lycorine) ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพที่  ดูแลมารดาหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
           สำาคัญในใบพลับพลึงเป็น 3.69 ± 0.04 และ 4.48 ±   โดยการนำาหม้อดินหรือหม้อทะนนที่ภายในบรรจุเกลือ
           0.02 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำาดับ ในขณะที่ใบ  สมุทรแล้วนำาไปตั้งไฟจนเกลือสุกได้ที่ ต่อมานำาหม้อ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37