Page 34 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 34

466 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 18  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2563



                                    ้
                                                                                  ้
           3) ว่านนางคำา ใช้ตำาพอกแก้ฟกชำา และเคล็ดขัดยอก  หนูด้วยวิธี hot plate พบว่าตำารับนำามันที่ขนาด 100
           ตามร่างกาย จากงานวิจัยพบว่า สาร essential oils   และ 200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม สามารถลดการปวด
                                                                                           ้
           ในว่านนางคำาสามารถยับยั้งปริมาณ COX-2 และ   ได้ดีขึ้นเมื่อความเข้มข้นสูงมากขึ้น แต่ตำารับนำามัน
           TNF-α  และยับยั้งการอักเสบของหนูที่ถูกเหนี่ยวนำา  ที่ขนาด 250 และ 500 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม มีฤทธิ์
                 [27]
                                                                                             [40]
           ด้วย TPA ซึ่งมีฤทธิ์ดีกว่ายา Ibuprofen  นอกจากนี้  ต้านการอักเสบ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม
                                         [26]
                           ้
           ยังพบว่าสารสกัดชั้นนำาของเหง้าว่านนางคำาสามารถลด  6) เกลือสมุทร หรือเกลือแกง มี 2 เพศ คือ เกลือ
           อาการเจ็บปวดในหนูเมื่อทดสอบด้วยวิธี Eddy’s hot    ตัวผู้ และเกลือตัวเมีย โดยโบราณนิยมใช้เกลือตัวผู้
                [29]
           plate  4) ว่านมหาเมฆ ใช้รักษาอาการปวดมดลูก  ในทางยา เช่น ผสมยาไว้กวาดคอเด็กแก้โรคซาง
           และแก้อักเสบ ทำาให้มดลูกเข้าอู่เร็ว จากงานวิจัย พบ  ผสมในลูกประคบสมุนไพร และใช้ในการทับหม้อ
                                              ้
           ว่าสารสกัดชั้นคลอโรฟอร์ม ชั้นเมทานอล ชั้นนำา และ  เกลือ เป็นต้น ในปัจจุบันยังไม่พบงานวิจัยของเกลือ
                                              ้
           โปรตีนไฮโดรไลเซทที่แยกได้จากสารสกัดชั้นนำา ของ  สมุทรที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ แต่ถ้าวิเคราะห์ตาม
           เหง้าว่านมหาเมฆ สามารถลดอาการบวมที่อุ้งเท้าหนู  การนำาเกลือไปใช้เป็นยาใช้ภายนอก เช่น ลูกประคบ
           ขาวที่ถูกเหนี่ยวนำาด้วยคาร์ราจีแนน และเมื่อทำาการ  สมุนไพร การทับหม้อเกลือ จะพบว่ามีความเกี่ยวข้อง

           ทดสอบฤทธิ์ระงับปวดที่เหนี่ยวนำาโดยกรดอะซิติก   กับความร้อน โดยเกลือจะสามารถดูดความร้อนจาก
           ความร้อน และฟอร์มาลินในหนูถีบจักร พบว่าสารสกัด  สิ่งรอบข้าง จึงอาจเป็นไปได้ว่าวัตถุประสงค์ในการ
           ด้วยคลอโรฟอร์มมีฤทธิ์ระงับปวด โดยมีกลไกการ  ใส่เกลือ คือ เพื่อช่วยเก็บความร้อนให้กับลูกประคบ

           ออกฤทธิ์ที่แตกต่างจากแอสไพริน  และพบว่าสาร  สมุนไพรหรือหม้อเกลือ 7) ใบพลับพลึง มีสรรพคุณ
                                     [30]
           สกัดชั้นเอทานอล 70% ของเหง้าว่านมหาเมฆสามารถ  ลดอาการเคล็ดขัดยอก บวม หรือข้อแพลง โดยต้อง

           ยับยั้งการหลั่ง NO ของเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ถูกเหนี่ยว  นำาใบพลับพลึงสดมาลนไฟให้ตายนึ่งแล้วนำาไปประคบ
           นำาด้วย LPS  นอกจากนี้ยังพบว่าสาร germacrone   หรือพันตามอวัยวะที่มีอาการปวด จากงานวิจัยพบว่า
                     [31]
           ที่แยกได้จากการทำา VLC ของสารสกัดชั้นเอทานอล   สารสกัดจากใบพลับพลึงสามารถมาลดปวดและลด

           มีฤทธิ์ระงับการอักเสบได้ดีทั้งในการทดลองด้วยวิธี   บวมของอุ้งเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำาการอักเสบด้วยสาร
                                                                  [44]
           acetic acid-induced writhing และวิธี formalin-  carrageenan  นอกจากนี้พบการศึกษาปริมาณสาร
           induced licking โดยการออกฤทธิ์ผ่านทางระบบ   สำาคัญของใบพลับพลึงที่เกี่ยวข้องกับการยับยั้งการ

                                    [34]
           ประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย  5) การบูร ใช้ทา  อักเสบ (สารไลโครีน) โดยใช้วิธีการสกัดที่แตกต่าง
           ถูนวดแก้ปวด แก้เคล็ดบวม ขัดยอก แก้ปวดข้อ และ  กัน พบว่าสารสกัดจากใบพลับพลึงที่ผ่านกระบวนการ
           แก้ปวดเส้นประสาท จากงานวิจัยพบว่าการบูรสามารถ  อบแห้งให้ปริมาณไลโครีนมากที่สุด ซึ่งมากเกือบ 2

           ออกฤทธิ์ต้านการอักเสบโดยยับยั้งการเคลื่อนที่ของ  เท่าของใบพลับพลึงสด และเมื่อนำาใบพลับพลึงมา
           เซลล์เม็ดเลือดขาว (leukocyte migration) และ  ศึกษาปริมาณไลโครีนเมื่อนำาไปอบแห้งที่อุณหภูมิและ

           ยับยั้งอาการบวม (antiedematogenic activity)   เวลาที่แตกต่างกัน พบว่าใบพลับพลึงที่ผ่านการอบ
           เมื่อทดสอบฤทธิ์แก้ปวดและต้านการอักเสบของตำารับ  แห้งที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 นาที
            ้
           นำามันที่ประกอบด้วยการบูร เมนทอล และไธมอลใน  ให้ปริมาณไลโครีนมากที่สุด และสารสกัดดังกล่าว
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39