Page 27 - วารสารการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 3
P. 27

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 18  No. 3  Sep-Dec  2020  459




            7-(4-hydroxyphenyl)-1-phenyl-(1E)-1-heptene   อย่างไรก็ตามว่านชักมดลูกมีข้อห้ามใช้ในสตรีมีครรภ์
            และสาร 7-(3,4-dihydroxyphenyl)-5-hydroxy-   หญิงให้นมบุตร หรือเด็กเล็ก และไม่ควรใช้ติดต่อกัน

            1-phenyl-(1E)-1-heptene) ยังสามารถยับยั้งการ  เป็นระยะเวลานาน หรือรับประทานเกินขนาดที่ระบุไว้
                         [11]
            อักเสบได้อีกด้วย  นอกจากนี้มีการศึกษา พบว่า สาร  เพราะอาจทำาให้เกิดอาการปวดท้อง ผู้ป่วยที่มีปัญหา
                                                            ้
            สกัดเหง้าว่านชักมดลูกชั้นเฮกเซน สามารถยับยั้งการ  ท่อนำาดีอุดตันไม่ควรใช้ เนื่องจากว่านชักมดลูกมีฤทธิ์
                                       ้
                                                                      ้
            หลั่ง Nitric oxide (NO) จากเซลล์คำาจุนประสาทของ  กระตุ้นการหลั่งนำาดี และอาจทำาให้เกิดอาการเสียด
                                                                              ้
                                                                                  [16]
            หนูขาวใหญ่ชนิด microglia ที่ถูกกระตุ้นด้วย lipo-  ท้องในผู้ป่วยที่เป็นนิ่วในถุงนำาดีได้
            polysaccharide (LPS) ได้ดี และยังสามารถยับยั้ง
            การแสดงออกของยีน monocyte chemoattractant   2. ไพล
            protein-1 (MCP-1) และ IL-6 ในระดับ messenger      ไพล (Phlai) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Zingiber
                                         [12]
            ribonucleic acid (mRNA) ได้อีกด้วย  ในส่วนของ  montanum (J. Koenig) Link ex A. Dietr. หรือ
            สารเคมีที่เป็นองค์ประกอบมีการวิจัยหาสารออกฤทธิ์  ชื่อพ้อง Zingiber cassumunar อยู่ในวงศ์ Zingi-
                                                                [17]
            ยับยั้งการอักเสบของว่านชักมดลูก โดยแยกสารเดี่ยว  beraceae  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของไพลเป็น
                                                                                   ้
            จากการสกัดว่านชักมดลูกด้วยเฮกเซน พบสารเดี่ยว   ไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีนำาตาลแกมเหลือง
            นั่นคือ สาร 1,7-diphenyl-(4E,6E)-4,6-heptadien-  เนื้อในสีเหลืองแกมเขียว มีกลิ่นเฉพาะ และแทงหน่อ
            3-ol สามารถยับยั้ง NO และ prostaglandin E2   หรือลำาต้นเทียมขึ้นเป็นกอ  สรรพคุณของไพลแบ่ง
                                                                            [18]
            (PGE2) ซึ่งเป็นสารสื่อกลางการอักเสบ (proinflam-  ตามส่วนที่ใช้ ได้แก่ เหง้า รสฝาดขื่นเอียน ขับระดู
            matory cytokines) ผ่านการยับยั้งการแสดงออกของ  แก้เหน็บชา แก้ปวดท้อง แก้บิดมูกเลือด ขับลม แก้

            ยีน inducible NO synthase (iNOS) และ cyclo-  ท้องเสีย แก้ลำาไส้อักเสบ ขับเลือดร้าย แก้มุตกิดระดู
                                      [13]
            oxyganse-2 (COX-2) ตามลำาดับ  ส่วนการทดลอง  ขาว แก้อาเจียน แก้ปวดฟัน แก้อาเจียนโลหิต แก้เด็ก
            ในสัตว์ทดลองของสารอัลนัสโตน (alnustone) ที่แยก  เป็นไข้สูงตัวสั่นตาเหลือก แก้เคล็ดขัดยอก ข้อเท้า

            ได้จากเหง้าของว่านชักมดลูก พบว่าสารอัลนัสโตน   แพลง แก้โรคผิวหนัง แก้ฝี ทาเคลือบแผลป้องกัน
            (alnustone) มีฤทธิ์ระงับการอักเสบในระยะกึ่งเรื้อรัง  การติดเชื้อ ดูดหนอง สมานแผล แก้ปวดเมื่อยกล้าม
                                                                         [19]
            ได้ดีโดยยับยั้งการเกิด granuloma ซึ่งออกฤทธิ์ได้ดี  เนื้อ เป็นยาชาเฉพาะที่  ปัจจุบันไพลได้ถูกบรรจุใน
            พอ ๆ กับเพรดนิโซโลน (prednisolone)  นอกจากนี้  บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2561 อยู่ในรูปแบบยา
                                          [14]
                                                                ้
            มีการศึกษาแบบมีกลุ่มควบคุม (case-control study)   ครีมและนำามัน จากการสืบค้นในฐานข้อมูลต่าง ๆ พบ
            ถึงผลของว่านชักมดลูก ในผู้ป่วยภาวะมดลูกหย่อน   ว่า ไพล มีสาร compound D หรือสาร (E)-4-(3’,4’-

            โดยให้รับประทานเหง้าว่านชักมดลูกแห้งบด ขนาด   dimethoxyphenyl) but-3-en-2-ol ซึ่งมีฤทธิ์ต้าน
            7 กรัมต่อวัน เป็นเวลา 10 วัน เปรียบเทียบกับกลุ่ม  การอักเสบในระดับสัตว์ทดลอง โดยออกฤทธิ์ต้าน

            ควบคุมซึ่งรับประทานยาหลอก พบว่าผลการทดลอง   การอักเสบในระยะเฉียบพลันด้วยการยับยั้งการบวม
                                                         ้
            ทั้ง 2 กลุ่มไม่แตกต่างกัน ว่านชักมดลูกไม่มีผลต่อการ  นำาที่อุ้งเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำาให้เกิดการอักเสบด้วย
            เปลี่ยนแปลงระดับเอสโตรเจนและระดับยอดมดลูก    สาร carrageenan  นอกจากสาร compound D
                                                  [15]
                                                                       [20]
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32