Page 43 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 43
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 1 Jan-Apr 2020 33
สูญเสียขาจากเบาหวาน เป็นเหตุการณ์ที่สามารถ เลือกที่จะศึกษาเพื่อค้นหายาจากตำารับยาแผนไทยที่มี
ป้องกันได้หากค้นพบและรักษาภาวะแทรกซ้อนดัง ศักยภาพ สามารถนำามาใช้ทดแทนยาที่นำาเข้าจากต่าง
กล่าวตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ในประเทศไทยพบความชุก ประเทศ ซึ่งจากการค้นหาและติดตามการใช้ตำารับยา
ของภาวะแทรกซ้อนที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวานประมาณ สมุนไพรรักษาแผลเบาหวานของจังหวัดสุราษฏร์ธานี
ร้อยละ 20-30 ซึ่งผู้ที่มีภาวะแทรกซ้อนนี้เป็นสาเหตุ พบว่า มีตำารับยารักษาแผลเบาหวาน/แผลกดทับ ที่
ของการตัดนิ้วเท้าหรือขาร้อยละ 0.5-2 การทุพพลภาพ มีการใช้ในหน่วยบริการสาธารณสุขจำานวน 2 ตำารับ
จากการสูญเสียนิ้วเท้าหรือขานี้มีผลให้ผู้ป่วยมี คือ ตำารับยาเหลืองสุราษฎร์ (ยาเหลืองนรินทร์) ซึ่งเป็น
่
คุณภาพชีวิตที่ตำาลงและเป็นสาเหตุการตายที่สำาคัญใน ตำารับที่แพทย์แผนไทยพัฒนาขึ้นมาใช้จากภูมิปัญญา
้
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โดยพบอัตราตายภายใน 5 ปีหลัง ท้องถิ่น และตำารับนำามันทองนพคุณซึ่งสั่งซื้อมาจาก
การตัดขาประมาณปีละ 1.5 ล้านคน เช่นเดียวกับ เอกชน แต่อย่างไรก็ดี เนื่องจากการใช้ยาสมุนไพร
[1-2]
แผลกดทับซึ่งเป็นแผลเรื้อรังอีกชนิดหนึ่ง ซึ่งหากไม่ ทั้งสองตำารับดังกล่าว ยังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยด้าน
ได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและเหมาะสม จะมีโอกาส ประสิทธิผลและความปลอดภัยอย่างเป็นระบบมาก่อน
เกิดภาวะแทรกซ้อนที่ยากต่อการรักษาและเป็นเหตุให้ การศึกษาจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความ
เสียชีวิตได้ นอกจากความสูญเสียที่เกิดจากการเสีย ปลอดภัยและประสิทธิผลเบื้องต้นของตำารับยาทั้งสอง
ชีวิตแล้ว ยังพบว่าประเทศไทยต้องสูญเสียค่าใช้จ่าย ในการรักษาแผลเบาหวานและแผลกดทับในครั้งนี้
ด้านการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้นจากการดูแลผู้ป่วยที่
มีแผลเบาหวานและแผลกดทับดังกล่าว ระเบียบวิธีศึกษ�
การแพทย์แผนไทย เป็นภูมิปัญญาการดูแล เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสังเกตแบบไปข้าง
สุขภาพของคนไทย ที่มีลักษณะการรักษาแบบองค์ หน้า (Prospective observational study) ดำาเนินการ
รวมและเป็นวัฒนธรรมการดูแลสุขภาพที่หลากหลาย ศึกษาในระหว่างเดือนธันวาคม พ.ศ. 2559– กันยายน
มีการผสมผสานกับการแพทย์แผนอื่นและมีการปรับ พ.ศ. 2560 โดยมีสถานที่ศึกษาในโรงพยาบาลสังกัด
ตัวอย่างต่อเนื่อง สามารถตอบสนองความต้องการ กระทรวงสาธารณสุข จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำานวน
ของประชาชนในการดูแลสุขภาพหลายมิติ ทั้งด้าน 14 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลบ้านนาสาร โรงพยาบาล
กาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และความเชื่อ ปัจจุบัน พระแสง โรงพยาบาลบ้านนาเดิม โรงพยาบาลวิภาวดี
ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยทั้งที่อยู่ในองค์กร โรงพยาบาลท่าฉาง โรงพยาบาลบ้านตาขุน โรงพยาบาล
ของรัฐและประกอบอาชีพอิสระยังคงมีการใช้ตำารับ คีรีรัตน์นิคม โรงพยาบาลดอนสัก โรงพยาบาลเคียนซา
ยาแผนไทยและมีบทบาทสำาคัญในการดูแลและรักษา โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเวียงสระ โรงพยาบาล
พยาบาลผู้ป่วย ซึ่งการรักษาหลายโรคพบว่าได้ผล เกาะสมุย โรงพยาบาลท่าชนะ โรงพยาบาลพุนพิน
เป็นที่น่าพอใจ ประกอบกับปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบาย และโรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ การศึกษาครั้งนี้ผ่าน
พัฒนายาจากสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเองและเพื่อการ การพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย
สร้างเศรษฐกิจของประเทศอย่างยั่งยืน ดังนั้น จึงเป็น ในมนุษย์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง
ภารกิจของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทาง เลือก เลขที่ 13-2559