Page 45 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 45

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 1  Jan-Apr  2020  35




              ในสัตว์ทดลอง พบว่าแผลของสัตว์ทดลองที่ทาด้วย  ยาสมุนไพรตำารับเหลืองสุราษฎร์ (เหลืองนรินทร์) หรือ

                                                           ้
              ตำารับยาเหลืองสุราษฎร์มีระยะเวลาการหายของแผล  นำามันทองนพคุณอย่างไรอย่างหนึ่ง โดยผู้ป่วยผ่าน
              น้อยกว่ากลุ่มควบคุม และผลทางเนื้อเยื่อวิทยาชี้  เกณฑ์การคัดเลือกเข้าศึกษาและลงนามยินยอมเข้า

              ให้เห็นว่าการหายของแผลเป็นแบบสมบูรณ์ (com-  ร่วมโครงการ การรวบรวมข้อมูลเริ่มจากการเก็บข้อมูล
              pletely healed) มีการสร้างและจัดเรียง fibroelastic   ผู้ป่วยจากแฟ้มประวัติของโรงพยาบาลโดยใช้แบบ

              tissue ในชั้นหนังแท้ (dermis) รวมถึงมีการสร้าง  บันทึกข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับสุขภาพ บันทึกภาพ
              เนื้อเยื่อ epithelium ชนิด stratified squamous และ   แผล และบันทึกผลความก้าวหน้าของการหายของ
              keratinized tissue ของชั้นหนังกำาพร้า (epidermis)   แผล ณ วันที่ 0, 7, 14, 21, และ 28 (เป็นเวลา 4 สัปดาห์)

              ที่สมบูรณ์ใกล้เคียงกับผิวหนังปกติ  วิธีการใช้ยา   ของการรักษาโดยใช้แบบติดตามการใช้ยาและแบบ
                                          [3]
              ครีมเหลืองสุราษฎร์ สำาหรับการศึกษานี้คือ ใช้ป้ายแผล   ติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาของคณะ

              วันละ 1 ครั้ง หลังจากล้างแผลด้วย normal saline   กรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
                                                                                               [5-6]
              (0.9% NaCl) ซึ่งเป็น standard treatment     เมื่อครบระยะเวลาในการติดตามผู้ป่วยแต่ละราย
                   3.  ตำารับยานำ้ามันทองนพคุณ            ทำาการสอบถามความพึงพอใจจากผู้ให้บริการ และ

                     เป็นตำารับยาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษของ  ผู้มารับบริการการรักษาแผลด้วยยาสมุนไพรทั้ง 2
              แพทย์แผนไทยทรัพย์สิน ทองนพคุณ โดยตำารับยาฯ   ตำารับ ดังกล่าว
              300 กรัม ประกอบด้วยสมุนไพร ขมิ้นชัน (Curcuma      1.  วิธีการวัดผลการหายของแผล

              longa L.) 45 กรัม กระเทียม (Allium sativum L.)        การวัดผลการหายของแผล ทำาการวัดโดย
              9 กรัม สีเสียดไทย (Acacia catechu Willd) 6 กรัม   ใช้แบบประเมินที่ประยุกต์มาจาก Barbara Bates-
              นำ้ามันงา (Sesamum indicum L.) 81 กรัม นำ้ามัน  jensen และ Push Tool version 3.0  โดยมีการ
                                                                                        [7]
              มะพร้าว (Cocos nucifera L. var. nucifera) 99 กรัม   ประเมินลักษณะพื้นแผล และการวัดขนาดของแผล
              และตัวยาอื่น ๆ 60 กรัม ทำาการผลิตภายใต้บริษัท  ดังนี้

              เอเชียโอสถ ทะเบียนยาแผนโบราณ เลขที่ G 290/52      ลักษณะพื้นแผล 5 ระดับ ได้แก่
              รหัสยาแผนไทย คือ 420000007199509994282808         0 (Closed) หมายถึงแผลหายแล้วด้วยการ
                                                     [4]
              วิธีการใช้ยาสำาหรับการศึกษานี้คือ หลังจากล้างแผล  มี epithelium ปกคลุม

              ด้วย normal saline ซึ่งเป็น standard treatment        1 (Epithelial tissue) หมายถึง เนื้อเยื่อ
              ใช้สำาลีก้อนขนาด 0.35 กรัมชุบนำ้ามันทองนพคุณให้  สีชมพูที่งอกจากขอบของแผล

              ชุ่มแล้วนำาไปทาให้ทั่วแผลวันละ 1 ครั้ง            2 (Granulation tissue) หมายถึง เนื้อเยื่อ
                                                          สีชมพูหรือสีแดงเนื้อวัว ชุ่มชื้น มันวาว
              วิธีก�รศึกษ�                                       3 (Slough) หมายถึง เนื้อตายสีเหลืองหรือขาว


                   การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสังเกต       4 (Necrotic tissue/Escher) หมายถึง พื้น
                                                                                  ้
              แบบไปข้างหน้า (Prospective observational study)   แผลที่เป็นเนื้อตายแข็ง สีดำา สีนำาตาล
              ในผู้ป่วยที่มีแผลเบาหวานหรือแผลกดทับ ที่มีการใช้     ขนาดของแผล วัดจากการใช้แผ่นพลาสติก
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50