Page 47 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 47
J Thai Trad Alt Med Vol. 18 No. 1 Jan-Apr 2020 37
การติดตามด้านความปลอดภัยของผู้ป่วยที่มี tion tissue) หมายถึง เนื้อเยื่อสีชมพูหรือสีแดงเนื้อ
การใช้ยาครีมเหลืองสุราษฎร์ (8 ราย จำานวน 10 แผล) วัว ชุ่มชื้น มันวาว, 3 (Slough) หมายถึง เนื้อตายสี
้
และนำามันทองนพคุณ (8 ราย จำานวน 9 แผล) โดยใช้ เหลืองหรือขาว และ 4 (Necrotic tissue/Escher)
ระยะเวลาติดตามผู้ป่วยแต่ละรายเป็นเวลา 1 เดือน หมายถึง พื้นแผลที่เป็นเนื้อตายแข็ง สีดำา สีนำ้าตาล พบ
หลังเข้าร่วมโครงการไม่พบรายงานเกี่ยวกับอาการ ว่า แผลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 90) ที่ได้รับการทาด้วยยา
ไม่พึงประสงค์ รวมทั้งไม่พบผู้ป่วยมีอาการแพ้หรือ ทั้ง 2 ตำารับมีการเปลี่ยนแปลงพื้นแผลที่ดีขึ้น และพบ
ระคายเคืองจากยาทั้ง 2 ตำารับ การเปลี่ยนแปลงที่ชัดเจน รวมทั้งพบแผลที่มี epithe-
ในส่วนการประเมินประสิทธิผลเบื้องต้นของการ lium ปกคลุม ซึ่งแสดงถึงมีการหายของแผลใน
รักษาด้วยตำารับยาสมุนไพรทั้ง 2 ตำารับ โดยการ สัปดาห์ที่ 3-4 ในกลุ่มที่ได้รับการรักษาด้วยตำารับยา
ประเมินในด้านขนาดและลักษณะของแผล พบว่า ครีมเหลืองสุราษฎร์ รายละเอียดของการเปลี่ยนแปลง
แผลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 90) มีลักษณะที่ดีขึ้นทั้งในด้าน ของพื้นแผลแสดงดังตารางที่ 3
ขนาดของแผลและลักษณะพื้นแผล โดยแผลที่รักษา การวิเคราะห์คะแนนความพึงพอใจ โดยใช้ค่า
ด้วยตำารับยาทั้ง 2 ตำารับมีขนาดที่ลดลงอย่างชัดเจน เฉลี่ย ± ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แยกระหว่างความพึง
้
และมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (P พอใจจากการใช้นำามันทองนพคุณและยาครีมเหลือง
< 0.05: ทดสอบโดยใช้สถิติ repeated measures สุราษฎร์ของผู้ให้การรักษาและผู้รับการรักษา ซึ่งผล
ANOVA) รายละเอียดข้อมูลขนาดของแผลที่ลดลง การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยต่อผลิตภัณฑ์
แสดงในตารางที่ 2 ทั้งสองตำารับของทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ พบ
การประเมินความเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นแผล ว่า คะแนนอยู่ในระดับที่ 3-4 (ปานกลาง-ดี) และหาก
โดยมีเกณฑ์การประเมินตาม PUSH Tool คือ คะแนน พิจารณารายละเอียดคะแนนแต่ละด้าน พบว่า คะแนน
0 (Closed) หมายถึงแผลหายแล้วด้วยการมี epithe- ความพึงพอใจด้านรูปแบบการบรรจุยา และความ
lium ปกคลุม, 1 (Epithelial tissue) หมายถึง สะดวกในการใช้ยามีค่าสูงกว่าความพึงพอใจด้านสี
เนื้อเยื่อ สีชมพูที่งอกจากขอบของแผล, 2 (Granula- และกลิ่น ในส่วนของความพึงพอใจต่อการใช้แบบเก็บ
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบขนาดแผลก่อนและหลังจากติดตามการใช้ยาสมุนไพรต�ารับเหลืองสุราษฎร์และน�้ามัน
ทองนพคุณ
ขนาดของแผล (log ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)
ชนิดของยา p-value
สัปดาห์ที่ 0 สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4
เหลืองสุราษฎร์ 1.25 ± 0.71 1.16 ± 0.71 1.06 ± 0.72 1.04 ± 0.70 1.10 ± 0.83 0.008
(n = 10)
ทองนพคุณ 1.24 ± 0.75 1.17 ± 0.75 1.08 ± 0.76 1.07 ± 0.73 0.92 ± 0.83 0.000
(n = 9)
*P < 0.05 เมื่อทดสอบด้วยสถิติ repeated measures ANOVA