Page 46 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 46

36 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก        ปีที่ 18  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2563




             ใสปลอดเชื้อวางทับบนแผลแล้วใช้ปากกาวาดไปบน   เปรียบเทียบความแตกต่างของขนาดของแผลเฉลี่ย
             แผ่นพลาสติกตามขอบแผล แล้วคำานวณพื้นที่บนแผ่น  ณ วันที่ 0, 7, 14, 21, และ 28 ของการรักษา โดยใช้
             พลาสติกเป็นตารางเซนติเมตร                   สถิติอ้างอิง Repeated Measures ANOVA

                 2.  วิธีการประเมินความพึงพอใจ
                   การประเมินความพึงพอใจ แบ่งออกเป็น 2                ผลก�รศึกษ�

             ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ ซึ่ง     จากการติดตามผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษา
             แบ่งเป็น 4 ด้าน ได้แก่ รูปแบบการบรรจุยาทาแผล สี  จำานวน 35 ราย พบ 16 รายที่มีผลการรักษาครบ 5 ครั้ง
             ของยา กลิ่นของยา และความสะดวกในการใช้ยา ส่วน  โดยผู้ป่วยทั้ง 16 ราย มีลักษณะประชากร คือ อายุ

             ที่ 2 เป็นความพึงพอใจเกี่ยวกับแบบฟอร์มการเก็บ  เฉลี่ย 50 ปี (สูงสุด 68 ปี ตำ่าสุด 35 ปี) ดัชนีมวลกาย
             ข้อมูล แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ เนื้อหาเข้าใจง่าย สะดวก  เฉลี่ย 21 กก./ตร.ม. ระยะเวลาที่เป็นแผลเฉลี่ย 24

             ต่อการเก็บข้อมูล และกระชับตรงประเด็น คะแนน  เดือน มีจำานวนครึ่งหนึ่งของประชากร (ร้อยละ 50)
             ความพึงพอใจในแต่ละด้านเรียงจากความพึงพอใจ   ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวาน
             มากสุด (5 คะแนน) – ไม่ระบุความพึงพอใจ (0 คะแนน)  มีผู้ที่สูบบุหรี่ 10 ราย และดื่มแอลกอฮอล์ 3 ราย คิด

                 3.  การวิเคราะห์ข้อมูล                  เป็นร้อยละ 52.63 และ 15.78 ตามลำาดับ การวิเคราะห์
                   วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้เข้าร่วมวิจัย   ลักษณะประชากรและข้อมูลสุขภาพของผู้เข้าร่วมวิจัย
             อัตราการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ลักษณะแผล และ  พบว่า ไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ

             ความพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้ให้บริการ โดยใช้สถิติ  ในผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งสองกลุ่ม รายละเอียดได้แสดงดัง
             เชิงพรรณนา และวิเคราะห์ผลของการรักษา โดยการ  ตารางที่ 1


             ตารางที่ 1 ลักษณะประชากรและข้อมูลสุขภาพของผู้เข้าร่วมวิจัย

                      ลักษณะประชากรและ               จ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัย   เหลืองสุราษฎร์   น�้ามันทองนพคุณ
                     เข้ามูลแรกเข้าโครงการ          (16 ราย / 19 แผล)  (8 ราย / 10 แผล)  (8 ราย / 9 แผล)

             เพศชาย (คน: ร้อยละ)                       13 (81.25)       6 (46.15)     7 (53.85)
             อายุ (ปี: ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน)   50.52 ± 10.51   49.20 ± 09.15   52.00 ± 12.23

             ค่าดัชนีมวลกาย (กก./ตร.ม.) (ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน   21.90 ± 06.84   20.29 ± 05.65   23.78 ± 08.13
             มาตรฐาน)
             ระยะที่เป็นแผล (เดือน) (ค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน   24.03 ± 36.92   25.40 ± 37.83   22.52 ± 38.11
             มาตรฐาน)
             เกษตร (คน: ร้อยละ)                         9 (56.25)       5 (55.56)     4 (44.44)

             โรคเบาหวาน (คน: ร้อยละ)                    9 (56.25)       4 (44.44)     5 (55.55)
             สูบบุหรี่ (คน: ร้อยละ)                    10 (62.50)       4 (40.00)     6 (60.00)
             ดื่มแอลกอฮอล์ (คน: ร้อยละ)                 3 (18.75)       3 (100)        0 (0.00)
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51