Page 26 - แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะท้ายฯ
P. 26
26 แนวทางการดููแลผูู้�ป่่วยมะเร็งระยะท�ายแบบป่ระคัับป่ระคัองแบบบูรณาการ
กรณีตัวอย�างณีตัวอย�าง
กร
หญิงไทยอายุ 72 ป่ี มารักษาตัวในโรงพยาบาลดู�วยอาการหายใจิหอบเหนี�อย แพทย์เจิ�าของไข�วินิจิฉิัย
มะเร็งป่อดูระยะสำุดูท�าย Consult TTM. Palliative Care มีอาการหายใจิหอบเหนื�อย วิงเวียนศีรษะ เบื�ออาหาร
ผูู้�ป่่วยและญาติรับทราบและเข�าใจิการดูำาเนินโรคั ลงนามป่ฏิิเสำธิการช�วยคัืนชีพใดูๆ ป่ฏิิเสำธิการใช�ยากระตุ�นการทำางาน
ของอวัยวะใดูๆ ป่ระเมิน PPS SCORE = 30 หลังอาการทุเลา ผูู้�ป่่วยและญาติป่ระสำงคั์ขอพากลับไป่รักษาตัวต�อ
ที�บ�านและขอป่รึกษาการใช�กัญชาทางการแพทย์แผู้นไทย แพทย์เจิ�าของไข�อนุญาตจิำาหน�ายกลับบ�านพร�อมอุป่กรณ์
เคัรื�องผู้ลิตออกซิ่ิเจิน
การดููแลรักษา
1. ฝ่ึกการหายใจิดู�วยหลักสำมาธิิ 3 ขั�นตอนของสำติบำาบัดู หรือ การฝ่ึกสำมาธิิบำาบัดู หรือ การฝ่ึกการหายใจิ
2. ให�ยาหอมเทพจิิตร 1 กรัม วันละ 2 คัรั�ง เช�า - เย็น เมื�อกลับบ�านให�ยาหอมเทพจิิตร 1 กรัม รับป่ระทาน
เมื�อมีอาการวิงเวียนศีรษะ ให�ไม�เกินวันละ 3 คัรั�ง
3. ให�ยาศุขไสำยาศน์ รับป่ระทานคัรั�งละ 0.5 กรัม วันละ 1 คัรั�ง ก�อนนอน
นัดูติดูตามอาการทางโทรศัพท์ 3 วันหลังกลับบ�าน และนัดูเจิาะเลือดู 1 เดูือน
3. กำรจัดำกำรอำกำรคำล่่นำไส้ อำเจ่ย์นำ (Nausea and Vomiting)
อาการคัลื�นไสำ� อาเจิียน เกิดูไดู�จิากภาวะวาโยธิาตุหย�อน กำาเริบ หรือพิการ สำ�วนใหญ�มักเป่็นที�โกฏิฐาสำยาวาตา
หรือกุจิฉิิสำยาวาตา (ระบบย�อยอาหารและการขับถีายทำางานไม�สำมดูุล) และอาจิเกิดูจิากกรีสำัง (อาหารเก�าหรืออาหาร
ที�กินเข�าไป่ย�อยแล�วบางสำ�วนเป่็นมวนอุจิจิาระหรือของเสำียในลำาไสำ�) ที�คัั�งคั�าง ไฟ้ป่ริณามัคัคัีเผู้าผู้ลาญไม�สำมบูรณ์
(ของเสำียคัั�งคั�างในร�างกาย หรืออาหารกระทำาให�เป่็นพิษ เช�น กินของที�ไม�คัวรกินหรือของที�ไม�ถีูกกับธิาตุหรือไม�ถีูก
กับโรคั) หรือเกิดูจิากอุทริยัง (อาหารที�รับป่ระทาน) แสำลงกับผูู้�ป่่วย สำ�งผู้ลให�เกิดูอาการคัลื�นไสำ� อาเจิียนไดู�
3.1 การป่ระเมินและการตรวจิวินิจิฉิัย
แพทย์แผู้นไทยตรวจิลักษณะของชีพจิรเพื�อป่ระเมิน ป่ิตตะ วาตะ เสำมหะ และตรวจิเป่ลวกำาเดูา เพื�อดููการ
กระจิายตัวและลักษณะของป่ิตตะ ร�วมกับซิ่ักป่ระวัติและตรวจิร�างกายเพื�อป่ระเมินจิากอาการ
3.2 การจิัดูการอาการคัลื�นไสำ� อาเจิียน ดู�วยยาตำารับแผู้นไทยและยาสำมุนไพร
ตามหลักการทางเวชกรรมไทย แพทย์แผู้นไทยมีการพิจิารณาถีึงสำมุฏิฐานของผูู้�ป่่วยแต�ละราย มูลเหตุ ลักษณะ
ของธิาตุกำาเริบ หย�อน พิการ และป่ัจิจิัยอื�นๆ ที�สำ�งผู้ลต�ออาการ รวมถีึงการรักษาดู�วยศาสำตร์การแพทย์แผู้นป่ัจิจิุบัน
เพื�อให�การรักษาไม�ซิ่ำ�าซิ่�อนและไม�เกิดูอาการไม�พึงป่ระสำงคั์จิากการรักษา
แพทย์แผู้นไทยสำามารถีป่รุงยาเฉิพาะรายไดู�ตามสำมุฏิฐานของผูู้�ป่่วย แนะนำาให�พิจิารณายาตามคััมภีร์ที�ไดู�รับ
การป่ระกาศขึ�นทะเบียนเป่็นตำารับยาแห�งชาติ หรือป่รุงยาดูม เพื�อแก�อาการวิงเวียนศีรษะ
3.3 การจิัดูการอาการคัลื�นไสำ� อาเจิียน โดูยไม�ใช�ยา
แพทย์แผู้นไทยคัวรแนะนำาการรับป่ระทานอาหารตามธิาตุสำมุฏิฐาน หรือ ตามสำมุฏิฐานอาการของโรคั
รสำยาคัวรเป่็นยารสำสำุขุมหรือสำุขุมร�อน หรือรสำหอมเย็น รสำหอมสำุขุมหรือสำุขุมหอม หรือแนะนำาเคัรื�องดูื�มสำมุนไพรที�มี
รสำเป่รี�ยวหรือร�อนเล็กน�อย เช�น นำ�าใบกะเพรา (ช�วยขับลม) นำ�ามะนาว (กัดูเสำมหะและระบาย) นำ�าลูกผู้ักชีลา (แก�ไข�
แก�อาเจิียน) นำ�าต�มลูกยอหมกไฟ้ (แก�อาเจิียน) ในกรณีที�ใช�ยารสำร�อน เช�น นำ�าขิง ถี�าใช�ในหน�าร�อนหรือช�วงที�มีอาการ
รุมๆ หรือมีไข�ไม�คัวรใช� หรือหากจิะใช�คัวรให�รับป่ระทานในป่ริมาณน�อยก�อน ในบางรายอาจิทำาให�เกิดูอาการแสำบร�อน
คัอหรือร�อนในและไม�คัวรใช�ขณะที�มีไข� และคัวรรับป่ระทานเป่็นเคัรื�องดูื�มร�อนหรืออุ�น จิัดูการระบายอากาศให�ถี�ายเท
หรือแต�งกลิ�นห�องพักดู�วยสำมุนไพรช�วยขับลม