Page 79 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 79

562 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ชั่วโมง ครบ 1 cycle ท�าจนครบ 6 cycles ประเมินน�้า        (4) ถอนผู้รับวิจัยออกจากการศึกษา
           หนัก สี กลิ่น และการตกตะกอนของแผ่นเจลสารสกัด   มีประวัติการแพ้ผลิตภัณฑ์หรือส่วนประกอบของ

                2.4  การศึกษาการระคายเคือง ประสิทธิผล และ  ผลิตภัณฑ์ที่ศึกษา
           ความพึงพอใจของแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อย           (5) ไม่สมัครใจเข้าร่วมงานวิจัย
           กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นิสิตมหาวิทยาลัย        2.4.3 เกณฑ์การถอนผู้ร่วมวิจัยออกจาก

           ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ค�านวณกลุ่มตัวอย่างจาก  การศึกษา (discontinuation criteria)
           โปรแกรม G*power การทดสอบการระคายเคือง              (1) มีอาการแพ้อย่างรุนแรง เช่น ผิวแสบ
           จ�านวน 30 คน ทดสอบประสิทธิผลและประเมินความ  แดง แห้งลอก คันอย่างรุนแรง

           พึงพอใจ ของแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิต         (2) ผู้เข้าร่วมวิจัยขอถอนตัวออกจาก
           จ�านวน 30 คน ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึง  โครงการวิจัย
           มกราคม พ.ศ. 2566 โดยมีเกณฑ์ในการคัดผู้เข้าร่วม        2.4.4 การทดสอบการระคายเคือง ใช้วิธี

           วิจัยเข้าศึกษา และเกณฑ์การคัดผู้เข้าร่วมวิจัยออก   patch test โดยน�า patch test chamber มีลักษณะ
           โดยเลือกตามคุณสมบัติที่ก�าหนดดังนี้         เป็นแผ่นเจลสี่เหลี่ยม ประกอบด้วย สารสกัดจาก

                   2.4.1 เกณฑ์คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง/ผู้เข้า  ต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิต น�าแผ่นทดสอบแปะ
           ร่วมวิจัยเข้าทดสอบ (inclusion criteria)     บริเวณท้องน้อยของผู้เข้าร่วมวิจัยท�าการประเมินผลที่
                   (1) เพศหญิงที่มีอาการปวดประจ�าเดือน  เวลา 4 และ 24 ชั่วโมง  โดยผู้เข้าร่วมวิจัยสามารถอาบ

           ชนิดปฐมภูมิมีรอบเดือน 20-30 วัน ปริมาณประจ�า  น�้าได้ปกติ เนื่องจากมีแผ่นฟิล์มใสกันน�้า หลังปิดแผ่น
           เดือนไม่ควรเกิน 80 ซีซี โดยค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 35 ซีซีต่อรอบ    ทดสอบ และแปลผลตามมาตรฐาน International

           เทียบได้กับผ้าอนามัยประมาณ 3-4 ผืนต่อวัน    contact dermatitis research group (ICDRG)
                   (2) อายุระหว่าง 18-23 ปี                   ขั้นตอนการทดสอบการระคายเคือง ผู้
                   (3) มีคะแนนการปวด (pain score) 4-5   วิจัยมอบผลิตภัณฑ์แผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อย

           คะแนนจากคะแนนเต็ม 10                        ขับโลหิตมีขนาดความกว้าง 4 เซนติเมตร ความยาว
                   (4) ต้องมีการหยุดยาระงับอาการปวด    7 เซนติเมตร ให้กลุ่มตัวอย่างจ�านวน 30 คน โดยผู้
           ประจ�าเดือน                                 วิจัยจะเป็นคนแปะให้กลุ่มตัวอย่าง จ�านวนคนละ 1

                   (5) สมัครใจเข้าร่วมงานวิจัย         แผ่น แปะแผ่นเจลบริเวณท้องน้อยตามต�าแหน่งที่ผู้
                   2.4.2 เกณฑ์การคัดกลุ่มตัวอย่าง/ผู้เข้าร่วม  วิจัยชี้แจงวิธีการใช้แผ่นเจล ให้ผู้เข้าร่วมวิจัยสังเกต
           วิจัยออกจากการศึกษา (exclusion criteria)    อาการด้วยตนเอง ตาม (ICDRG) ดังนี้ 0 = ไม่มีอาการ

                   (1) มีประวัติการใช้ยาคุมก�าเนิด     ใด ๆ เกิดขึ้นที่ต�าแหน่งผิวหนังเลย 1 = มีเพียงรอย
                   (2) มีอาการปวดจากโรคนรีเวชอื่น ๆ    แดงจาง ๆ เล็กน้อย 2 = ลักษณะสีผิวรอยแดง เริ่ม

                   (3) ได้รับการบาดเจ็บหรือได้รับการผ่าตัด  มีการพองหรือพองจนเห็นได้ชัดเจน 3 = ลักษณะสี
           บริเวณหน้าท้อง                              ผิวรอยแดง เริ่มมีการพองหรือพองจนเห็นได้ชัดเจน
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84