Page 77 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 77
560 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ประเภทยาเตรียมกึ่งแข็ง ที่สามารถบรรจุสารสกัด เถาหางไหลแดง (Derris elliptica) แก่นสนเทศ
สมุนไพรที่มีขนาดอนุภาคเล็กที่เตรียมโดยใช้คลื่น (Baeckia frutescens) แก่นแสมสาร (Senna gar-
ไมโครเวฟ พัฒนาเป็นแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อย rettiana) เหง้าข่า (Alpinia galanga) ใบเครือหมา
ขับโลหิตที่ออกฤทธิ์ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผล น้อย (Cissampelos pareira)
ในการบรรเทาอาการปวดประจ�าเดือนในกลุ่มอาการ สารเคมี; เจลาติน ผลิตจากประเทศญี่ปุ่น มีค่า
โลหิตปกติโทษได้ดียิ่งขึ้น จากงานวิจัยก่อนหน้ามีการ boom = 250 เอทานอล 95% ผลิตจากประเทศไทย
พัฒนาต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิตในรูปแบบเจลขี้ กรดซัลฟิวริก
ผึ้ง ซึ่งอาจจะไม่สะดวกต่อการใช้งาน หรือมีการสะสม เครื่องมือและอุปกรณ์; บีกเกอร์ ซิลิโคน
ของแบคทีเรียได้ สี่เหลี่ยมขนาด 4 ´ 7 เซนติเมตร ฟิล์มใสปิดแผล
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น การศึกษานี้จึงมี กันน�้า เทอร์โมมิเตอร์ กระบอกตวง เครื่องปั่น แท่ง
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต�ารับยาพอกท้องน้อยขับ แก้วคนสาร เครื่องชั่งทศนิยมสองต�าแหน่ง ไซริงก์
โลหิตให้อยู่ในรูปแบบแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อย เครื่องไมโครเวฟ ขวดรูปชมพู่ กรวยกรอง และเครื่อง
ขับโลหิตรวมถึงศึกษาฤทธิ์และสรรพคุณสมุนไพรใน ท�าความร้อน
การรักษาอาการปวดประจ�าเดือนในกลุ่มผู้ที่มีอาการ
โลหิตปกติโทษ อีกทั้งยังมีการทดสอบความคงตัว การ 2. วิธีก�รศึกษ�
ทดสอบความระคายเคือง ทดสอบประสิทธิผล และ การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยรูปแบบการวิจัย
ประเมินความพึงพอใจต่อแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้อง และพัฒนา (research and development design:
น้อยขับโลหิต เพื่อการใช้งานที่สะดวกและปลอดภัย R&D) เป็นการพัฒนาต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิต
มากยิ่งขึ้น ให้อยู่ในรูปแบบแผ่นเจล ที่มีสรรพคุณช่วยลดอาการ
ระเบียบวิธีศึกษ� ปวดประจ�าเดือนในกลุ่มอาการโลหิตปกติโทษ โดย
งานวิจัยได้รับการพิจารณารับรองจากคณะกรรมการ
1. วัสดุ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์สถาบันวิจัย และพัฒนา
วัตถุดิบหรือสารส�าคัญ; รากเจตมูลเพลิง (Plum- มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง โดยมีหมายเลข
bago indica) เหง้าว่านน�้า (Acorus calamus) เม็ด อ้างอิงที่ TSU-REC 0313 โดยมีวิธีการด�าเนินการ
พริกไทยด�า (Piper nigrum) เหง้าขิง (Zingiber เก็บรวบรวมข้อมูล ดังกรอบแนวคิดในการวิจัย
officinale) กลีบกระเทียม (Allium sativum) (Figure 1)
Figure 1 Conceptual framework independent variable