Page 83 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 83

566 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ของแผ่นเจลสารสกัดต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิต   เนื่องจากการเตรียมที่อาจจะยังไม่สะอาดที่เท่าควร
           มีการลดลงในแต่ละ Cycle สีไม่มีการเปลี่ยนแปลง   และไม่มีการตกตะกอนในแต่ละ Cycle (Table 2)

           แต่สูตร G ใน Cycle 2 พบว่าเจลมีกลิ่นฉุนผิดปกติ



           Table 2  The physical stability of the gel patches containing Yapoktongnoikublohit extract.

                                            Weight (g)
            Formula   Before the  Cycle 1  Cycle 2  Cycle 3  Cycle 4  Cycle 5  Cycle 6  Color   Odor   Sediment
                     experiment

            YT patch1   35.97   35.97  35.95  35.86  35.61  35.46  35.43  brown  fragrant   no
                                                                                       sediment
            YT patch2   35.81   35.81  35.79  35.74  35.67  35.53  35.51  brown  fragrant   no
                                                                                       sediment

            YT patch3   35.80   35.80  35.78  35.73  35.68  35.56  35.53  brown  fragrant   no
                                                                                       sediment
            YT patch4   35.75   35.75  35.73  35.62  35.57  35.46  35.43  brown  fragrant   no
                                                                                       sediment
            G          35.55   35.55  35.49  35.03  34.87  34.57  34.49  brown  pungent *   no
                                                                                       sediment
            * Pungent odor cycle 2





           4.  ผลก�รทดสอบคว�มระค�ยเคืองของแผ่น         5.  ผลก�รทดสอบประสิทธิผลของแผ่นเจล
           เจลส�รสกัดตำ�รับย�พอกท้องน้อยขับโลหิต       ส�รสกัดตำ�รับย�พอกท้องน้อยขับโลหิต

                ผลการทดสอบการระคายเคืองของแผ่นเจล          5.1  ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง

           ต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิต พบว่า ในระยะเวลา         กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ เพศ
           4 ชั่วโมง กลุ่มตัวอย่างที่มีการระคายเคืองจ�านวน 2   หญิงที่มีอาการปวดประจ�าเดือน ชนิดปฐมภูมิมีรอบ
           คน (ยุติการทดลอง) และจ�านวนกลุ่มตัวอย่าง 28 คน   เดือน 4–10 วัน ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในพื้นที่

           ไม่พบการระคายเคือง ในระยะเวลา 24 ชั่วโมง กลุ่ม  มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง อายุระหว่าง
           ตัวอย่างที่มีการระคายเคืองจ�านวน 1 คน (ยุติการ  18-23 ปี จ�านวน 30 คน (Table 3)

           ทดลอง) และจ�านวนกลุ่มตัวอย่าง 27 คน ไม่พบการ     5.2  ผลการทดสอบประสิทธิผลต่อการลดปวด
           ระคายเคือง สรุปผลจากผลการทดสอบการระคาย      ประจ�าเดือนจากการใช้ผลิตภัณฑ์
           เคืองของแผ่นเจลต�ารับยาพอกท้องน้อยขับโลหิตไม่        จากการทดสอบประสิทธิผล  พบว่า

           พบการระคายเคืองต่อผิวหนัง                   ผลิตภัณฑ์ทั้ง 3 สูตร วันที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สูตร
                                                       YT ในเวลา 30 นาที และ 1 ชั่วโมง มีอาการปวดลดลง
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88