Page 44 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 44

260 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




                         อภิปรำยผล                     อักเสบ โดยออกฤทธิ์ยับยั้งการผลิต lipopolysac-
                ผลการศึกษาระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยา  charide (LPS) ที่ท�าให้เกิดไนตริกออกไซด์ (NO) [24]

           สหัศธาราและกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาหลอก ผลการ  ซึ่งพบว่ามีลักษณะตรงกับการใช้ยาแบบดั้งเดิมตาม
           เปรียบเทียบแบบประเมิน The Michigan Neu-     การแพทย์แผนไทย โดยในทางทฤษฎีการแพทย์แผน
           ropathy Screening Instrument (MNSI) ค่า     ไทย ยาสหัศธาราเป็นต�ารับที่มีรสร้อน ช่วยกระจาย

           เฉลี่ยการเปลี่ยนแปลงของคะแนนการซักประวัติ   กองลมในร่างกายที่เกิดการคั่งค้างเคลื่อนตัวช้า เพิ่ม
           และการตรวจร่างกายระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับ  ก�าลังธาตุไฟและธาตุน�้าให้ขับเคลื่อน ส่งผลให้ธาตุลม

           ยาสหัศธาราและกลุ่มยาหลอกไม่แตกต่างกัน ผล    เคลื่อนกระจายได้ทั่วร่างกายและส่วนปลายได้ดีขึ้น
           การศึกษาด้านประสิทธิผลของยาสหัศธารามีในผู้ที่  จึงท�าให้อาการปวดตึงกล้ามเนื้อและอาการชาบริเวณ
           มีภาวะเส้นประสาทส่วนปลายเสื่อมบริเวณขาส่วน  ส่วนปลายบรรเทาลง สอดคล้องกับการศึกษาเรื่อง

           ล่างในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ในด้านการลดระดับ  การประเมินประโยชน์และความปลอดภัยของต�ารับ
           ความรุนแรงของโรค การเปรียบเทียบผลการประเมิน  ยาสหัศธาราตามข้อบ่งใช้ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ใน

           ความเจ็บปวด short – form McGill มีค่าเฉลี่ยการ  ผู้ป่วยที่มารับบริการ ณ โรงพยาบาลพระอาจารย์ฝั้น
           เปลี่ยนแปลงของคะแนนอาการปวดลดลงแตกต่าง      อาจาโร น�าต�ารับยาสหัศธารามาใช้ในกลุ่มตัวอย่าง
           กับกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยาหลอกอย่างมีนัยส�าคัญทาง  คือ ผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลัง ปวดเมื่อยร่างกาย ปวด

           สถิติที่ระดับ 0.05 และการเปรียบเทียบผลการประเมิน  ข้อ อาการเกร็งและอาการมือเท้าชา พบว่ามีประโยชน์
           อาการทางระบบรับความรู้สึกด้วย The Neuropathy   ในด้านลดอาการปวดได้ดี   และยังช่วยให้ผู้ป่วย
                                                                           [15]
           Total Symptom Score – 6 (NTSS – 6) ระหว่าง  โรคเบาหวานมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นในมิติด้านความมี

           กลุ่มที่ได้รับยาสหัศธาราและกลุ่มที่ได้รับยาหลอกมี  เรี่ยวแรงและความกระปรี้กระเปร่า ในส่วนอาการ
           คะแนนอาการทางระบบรับความรู้สึกโดยมีค่าเฉลี่ย  รู้สึกไวต่อสัมผัส อาการปวดแสบ-ร้อน อาการเจ็บ
           การเปลี่ยนแปลงของคะแนนลดลงแตกต่างกับกลุ่ม   ปวดแปลบ อาการรู้สึกเหมือนเข็มทิ่มต�า มีค่าเฉลี่ยการ

           ตัวอย่างที่ได้รับยาหลอกอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่  เปลี่ยนแปลงของคะแนนลดลงไม่แตกต่างกัน อาจเป็น
           ระดับ 0.05 คือ คะแนนรวมของอาการทางระบบรับ   เพราะปัจจัยด้านความรุนแรงของโรค ระยะเวลาการ

           ความรู้สึก 6 อาการ คะแนนของอาการเจ็บปวดตึง ๆ   ด�าเนินของโรค พยาธิก�าเนิดของภาวะระบบประสาท
           และคะแนนของอาการมึนชา แสดงให้เห็นว่ายาสหัศ-  ส่วนปลายเสื่อมที่แตกต่างกัน อีกทั้งเมื่อรับประทาน
           ธาราช่วยจัดการความเจ็บปวด ในการลดอาการปวด   ยาสหัศธาราเป็นเวลา 28 วัน พบอาการไม่พึงประสงค์

           และ/หรือร่วมกับอาการชาจากภาวะแทรกซ้อนที่เกิด  ตามที่ระบุในบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้แก่ อาการปวด
           ขึ้นของภาวะเส้นประสาทส่วนปลายเสื่อมบริเวณขา  แสบร้อนท้อง ปากแห้ง คอแห้ง เวียนศีรษะและท้อง

                                                         [25]
           ส่วนล่างในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เมื่อรับประทาน  ผูก  ระดับความรุนแรงอยู่ในระดับอาการน้อยถึง
           ยาติดต่อกัน 28 วัน โดยการศึกษานี้มีข้อสันนิษฐาน  ปานกลาง ส�าหรับค่าการท�างานตับ (liver function
           ว่าอาจมาจากสมุนไพรต�ารับสหัศธาราที่มีฤทธิ์ต้านการ  test) อยู่ในช่วงเกณฑ์ปกติ ไม่พบความเปลี่ยนแปลง
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49