Page 40 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 40

238 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           ทดลองแบบสองกลุ่ม และเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว  การไม่ได้รับการนวด
           วัดก่อน-หลัง ซึ่งการศึกษาเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว       4)  Outcome (O): ผลลัพธ์ คือ อาการชา

           วัดก่อน-หลัง มีข้อจ�ากัดในประเด็นของการอธิบาย  เท้าหลังได้รับสิ่งแทรกแซง ได้แก่ จ�านวนจุดที่ชา และ
           เหตุผลการเปลี่ยนแปลงก่อนและหลังการทดลอง     การมีอาการชาเท้า (มี/ไม่มี หรือ ชา/ไม่ชา)
           และปัญหาการถดถอยสู่ค่าเฉลี่ย (regression to the        5)  Study design (S): รูปแบบการศึกษา

                 [13]
           mean)   นอกจากนี้ การทบทวนอย่างเป็นระบบดัง  คือ การศึกษาเชิงทดลอง (experimental study) ที่
           กล่าวท�าการคัดรายงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี   มีกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม
           พ.ศ. 2549–2559  โดยหลังปี พ.ศ. 2559 มีการเผย     1.3   การสืบค้นรายงานวิจัย จากฐานข้อมูลทั้ง

           แพร่งานวิจัยที่ศึกษาผลของการนวดแบบใช้อุปกรณ์  ในและต่างประเทศ ได้แก่ (1) Ovid (Medline) (2)
           ต่อการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้นอีก   CINAHL (3) Scopus (4) PubMed (5) ISI web
           เช่น การศึกษาของกัลญารัตน์ ฉน�ากลาง และคณะ   of science (6) CENTRAL (7) Google scholar

           เผยแพร่ในปี พ.ศ. 2562                       (10 หน้าแรก) (8) Thai Journals Online (Thaijo)
                              [10]
                ผลของการนวดเท้าด้วยอุปกรณ์พื้นบ้านของ  (9) ThaiLIS Digital Collection และ (10) รายการ

           ไทยต่ออาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวานซึ่งมีรายงาน  เอกสารอ้างอิงในรายงานวิจัยผ่านเกณฑ์คัดเข้า ไม่
           วิจัยตีพิมพ์เผยแพร่แล้วจ�านวนหนึ่งจึงท�าให้การ  จ�ากัดภาษาและช่วงเวลาที่รายงานวิจัยเผยแพร่ ท�าการ
           ศึกษานี้ต้องการศึกษาผลของการนวดเท้าด้วยอุปกรณ์   สืบค้นถึงวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2564 โดยก�าหนด

           พื้นบ้านของไทยต่ออาการชาเท้าในผู้ป่วยเบา    ค�าสืบค้นตาม PICOS ที่มาจากค�าว่า Participant,
           หวานโดยการทบทวนอย่างเป็นระบบและการ          Intervention, Comparison, Outcome, และ

           วิเคราะห์อภิมาน                             Study design ดังนี้
                       ระเบียบวิธีศึกษ�                      1.3.1 ฐานข้อมูลต่างประเทศ ค�าสืบค้น
                                                       ได้แก่
           1. วัสดุ (material)                               - Participant (P): Diabetes [MH]

                1.1   รูปแบบการศึกษา คือ การทบทวนอย่าง  Diabet* OR “Diabetic mellitus” OR “Diabetes
           เป็นระบบ                                    mellitus’’ OR Diabetic patient*OR Diabetic

                1.2   วัสดุที่ใช้ในการศึกษา คือ รายงานวิจัย โดย  mellitus patient* OR Diabetes mellitus patient*
           มีเกณฑ์คัดเลือกรายงานวิจัย ดังนี้                 - Intervention (I): Massage [MH]
                  1)  Participant (P): ตัวอย่างที่ศึกษา คือ    Massage* OR “rubdown’’ OR “rubbing’’

           ผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาเท้า คนไทยทั้งชายและ  OR “rub’’ OR “kneading’’ OR “palpation’’
           หญิง ทุกกลุ่มอายุ                           OR “manipulation’’ OR “pummeling’’ OR

                  2)  Intervention (I): สิ่งแทรกแซง คือ การ  “shiatsu’’ OR “reflexology’’ OR “acupressure’’
           นวดเท้าโดยใช้อุปกรณ์พื้นบ้านของไทย          OR “osteopathy’’ OR “chiropractic treatment’’
                  3)  Comparison (C): การเปรียบเทียบ คือ   OR “effleurage’’ OR “tapotement’’ OR “Rolfing’’
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45