Page 41 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 41

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  239




                   - Comparison (C): ไม่น�ามาเป็นค�าสืบค้น  กันท�าการปรึกษานักวิจัยคนที่ 3 เพื่อหาข้อสรุปร่วม
                   - Outcome (O): ไม่น�ามาเป็นค�าสืบค้น   กัน การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดอคติจ�านวน

                                                             [12]
                   - Study (S): randomized controlled   7 ด้าน  ดังนี้ (1) การสร้างล�าดับแบบสุ่ม (random
            trial OR Quasi experimental ((“randomized’’   sequence generation) (2) การปกปิดการจัดสรร
            OR “randomised’’) AND (controlled trial*)) OR   (allocation concealment) (3) การปกปิดวิธีการ

            controlled clinical trial* OR “Quasi Experimen-  รักษาจากผู้เข้าร่วมวิจัยและนักวิจัย (blinding of
            tal’’ OR“rct’’ OR “randomly’’ AND (stud* OR   participants and personnel) (4) การปกปิดผู้
            trial* OR design*))                         ประเมินผลลัพธ์ (blinding of outcome assess-

                    1.3.2 ฐานข้อมูลในประเทศไทย ค�าสืบค้น   ment) (5) จ�านวนข้อมูลของผลลัพธ์ที่ไม่ครบถ้วน
            ได้แก่                                      (incomplete outcome data) (6) อคติจากการเลือก
                   - ตัวอย่าง: ผู้ป่วยเบาหวาน, Diabetic,   ผลลัพธ์เพื่อรายงาน (selective reporting) และ

            Diabetes, Diabetic Mellitus                 (7) อคติอื่น (other bias) นั่นคือ อคติจากตัวแปร
                   - สิ่งแทรกแซง: นวดเท้า, นวัตกรรม,    พัวพัน (confounding bias) ได้แก่ อายุ ระยะเวลา

            โปรแกรม, อุปกรณ์,สิ่งประดิษฐ์, foot massage,   การเป็นเบาหวาน และ อาการชาก่อนการทดลอง อคติ
            innovation, equipment, artifact             แต่ละด้านถูกประเมินเป็นความเสี่ยง 3 ลักษณะ ดังนี้
                   - การเปรียบเทียบ: ไม่น�ามาเป็นค�าสืบค้น  (1) ความเสี่ยงต�่า (low risk of bias) (2) ความเสี่ยง

                   - ผลลัพธ์ : ชาเท้า, numbness, peripheral   สูง (high risk of bias) และ (3) ไม่ชัดเจน (unclear
            neuropathy                                  risk of bias) จากนั้นน�าผลการประเมินทั้ง 7 ด้าน มา

                                                        สรุปเป็นความเสี่ยงต่อการเกิดอคติของแต่ละรายงาน
            2. วิธีก�รศึกษ� (method)                    วิจัย ดังนี้

                 2.1  การคัดเลือกรายงานวิจัย                   1) ความเสี่ยงต�่า หมายถึง รายงานวิจัยที่ถูก

                 2.2  นักวิจัยสองคน (นครินทร์ และ ประภัสรา)   ประเมินว่า มีความเสี่ยงต�่าทั้ง 7 ประเด็น
            ด�าเนินการอย่างเป็นอิสระต่อกันเพื่อท�าการคัดเลือก       2) ความเสี่ยงสูง หมายถึง รายงานวิจัยที่มี
            รายงานวิจัยที่เป็นไปตามเกณฑ์ซึ่งระบุไว้ในหัวข้อ   อย่างน้อย 1 ประเด็น ถูกประเมินว่า เสี่ยงสูง

            1.2 วัสดุที่ใช้ในการศึกษา โดยคัดเลือกจากชื่อเรื่อง        3) ไม่ชัดเจน หมายถึง รายงานวิจัยที่ไม่ถูก
            บทคัดย่อ และรายงานวิจัยฉบับเต็ม กรณีพบผลการ  ประเมินว่า มีความเสี่ยงสูง แต่มีอย่างน้อย 1 ประเด็น
            คัดเลือกไม่ตรงกันท�าการปรึกษานักวิจัยคนที่สาม    ถูกประเมินว่า ไม่ชัดเจน หรือ รายงานวิจัยที่ไม่เข้าข่าย

            (ศิริพร) เพื่อหาข้อสรุปร่วมกัน การประเมินความเสี่ยง  “ความเสี่ยงต�่า’’ หรือ “ความเสี่ยงสูง’’
            ต่อการเกิดอคติของรายงานวิจัย                     2.3  การสกัดข้อมูลจากรายงานวิจัย

                 รายงานที่ผ่านการคัดเข้าถูกน�ามาประเมินความ     การสกัดข้อมูลจากรายงานวิจัยด�าเนินการอย่าง
            เสี่ยงต่อการเกิดอคติ ด�าเนินการโดยนักวิจัยสองคน  เป็นอิสระต่อกันจากนักวิจัยสองคน กรณีข้อมูลที่สกัด
            อย่างเป็นอิสระต่อกัน กรณีพบผลการประเมินไม่ตรง  ไม่ตรงกันท�าการปรึกษานักวิจัยคนที่ 3
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46