Page 42 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 42

240 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




                                                                         2
                ข้อมูลที่ถูกสกัด ได้แก่ (1) ประเภทของ  p-value < 0.10 และ I  เท่ากับร้อยละ 81-100 หาก
           รายงานวิจัย (2) ภาษาที่ตีพิมพ์ (3) วัตถุประสงค์  ไม่สามารถหาสาเหตุของความแตกต่างได้ น�าเสนอ

           การวิจัย (4) รูปแบบการวิจัย (5) ประชากร (6) ผู้เข้า   ผลลัพธ์ในลักษณะการบรรยายแต่ละรายงานวิจัย
           ร่วมวิจัย (7) สิ่งแทรกแซงและสิ่งเปรียบเทียบ         2.4.3  การวิเคราะห์ความไว โดยคัดรายงาน
           (8) การปกปิด (blinding) ผู้เข้าร่วมวิจัย นักวิจัย และ   วิจัยออกเพื่อตรวจสอบความคงที่ของผลลัพธ์ ลักษณะ

           ผู้ประเมิน ในการเป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม  รายงานวิจัยที่ถูกคัดออก ได้แก่ (1) รายงานวิจัยที่ไม่
           ของผู้เข้าร่วมวิจัย (9) การวัดอาการชาเท้า และ    ได้ตีพิมพ์งานในวารสาร นั่นคือ รายงานวิจัยที่อยู่ใน
           (10) ผลการศึกษา แบ่งเป็น จ�านวนตัวอย่างที่น�ามา  รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ (Proceedings)

           วิเคราะห์ ระยะเวลาการเป็นเบาหวาน อาการชาเท้า  รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์  และ  วิทยานิพนธ์
           กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม                    (2) รายงานวิจัยที่ถูกประเมินว่า ไม่ชัดเจน หรือ มีความ
                                  [12]
                2.4  การวิเคราะห์ข้อมูล                เสี่ยงสูงต่อการเกิดอคติ
                การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Review      2.5  การประเมินความแน่นอนหรือคุณภาพของ
           Manager 5 รายละเอียดการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้  หลักฐาน [12]

                  2.4.1 การรวมผลลัพธ์ระหว่างข้อมูลทวิภาค     การประเมินความแน่นอนหรือคุณภาพ (cer-
           และข้อมูลต่อเนื่อง โดยข้อมูลทวิภาคน�าเสนอด้วย  tainty or quality) ของหลักฐานด้วย GRADE
           ผลต่างความเสี่ยงกับช่วงเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 ข้อมูล  (grading of recommendations assessment,

           ต่อเนื่องน�าเสนอด้วยผลต่างค่าเฉลี่ยกับช่วงเชื่อมั่นที่   development and evaluation)ประกอบด้วย 5
           ร้อยละ 95 กรณีผลลัพธ์ถูกวัดในหน่วยที่ต่างกันน�า  ประเด็น ได้แก่ ความเสี่ยงต่อการเกิดอคติ ความ

           เสนอเป็นผลต่างค่าเฉลี่ยมาตรฐาน              สอดคล้องของผลลัพธ์ (consistency of effect)
                  2.4.2 ความต่างของค่าผลลัพธ์ แบ่งเป็น   ความไม่เที่ยง (imprecision) การไม่พบหลักฐาน
           กรณีผลลัพธ์ไม่มีความต่างซึ่งพิจารณาจาก (1) Co-  โดยตรง (indirectness) และ อคติจากการตีพิมพ์

           chrane’s Q statistic ให้ p-value ไม่น้อยกว่า 0.10   (publication bias) จากนั้นน�าผลการประเมินมาจัด
               2
           (2) t  เท่ากับศูนย์ และ (3) I  เท่ากับร้อยละ 0-30 การ  เป็นระดับความแน่นอนของหลักฐานเป็น 4 ระดับ ตาม
                                2
           รวมผลลัพธ์โดยวิเคราะห์อภิมานด้วยตัวแบบคงที่    การลดระดับคุณภาพของหลักฐาน ดังนี้ (1) สูง (high)
                กรณีผลลัพธ์มีความต่างกันในระดับปานกลาง  (2) ปานกลาง (moderate) (3) ต�่า (low) และ (4) ต�่า
           ถึงค่อนข้างชัดเจน นั่นคือ p-value < 0.10 และค่า I 2   มาก (very low)
           เท่ากับร้อยละ 31-80 ท�าการวิเคราะห์กลุ่มย่อยตาม

           (1) รูปแบบของอุปกรณ์ และ (2) ช่วงเวลาประเมิน             ผลก�รศึกษ�
           อาการชาหลังการนวด กรณีผลการวิเคราะห์กลุ่มย่อย

           ยังคงให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ท�าการรวมผลลัพธ์โดย  ผลจ�กก�รสืบค้น
           วิเคราะห์อภิมานด้วยตัวแบบสุ่ม                   การสืบค้นรายงานวิจัยจากฐานข้อมูลต่าง ๆ
                กรณีผลลัพธ์มีความต่างอย่างชัดเจน นั่นคือ   ได้รายงานวิจัยทั้งหมด 1,857 เรื่อง คัดซ�้าออก 626
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47