Page 39 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 39
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 237
เบาหวานที่ได้รับการตรวจค่าระดับน�้าตาลสะสมใน ยาบางชนิดแม้ช่วยให้อาการดีขึ้นแต่ไม่สามารถรักษา
[7]
เลือด (ฮีโมโกลบินเอวันซี) 1 ครั้งต่อปี พบ ผู้ป่วย ให้อาการหายขาดได้ แนวทางหนึ่งที่นิยมน�ามาใช้
ร้อยละ 40-57 สามารถควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด เพื่อช่วยอาการชาเท้า คือ การนวด การนวดเท้าช่วย
ได้ดี นั่นคือ ค่าฮีโมโกลบินเอวันซีน้อยกว่าร้อยละ ให้กล้ามเนื้อฝ่าเท้ามีการคลายตัว กระตุ้นระบบไหล
[5]
7 สรุปได้ว่า ผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 50 ไม่สามารถ เวียนเลือดและน�้าเหลือง ท�าให้อวัยวะต่าง ๆ มีเลือด
ควบคุมระดับน�้าตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ได้ ซึ่ง ไปเลี้ยงอย่างเพียงพอ เซลล์ประสาทและกล้ามเนื้อ
ส่งผลท�าให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะ จึงได้รับสารอาหารและออกซิเจนอย่างเพียงพอ ส่งผล
อย่างยิ่งภาวะแทรกซ้อนที่เท้าซึ่งเป็นภาวะแทรกซ้อน ให้อาการปลายประสาทเสื่อมดีขึ้น จึงช่วยลดอาการชา
[8-9]
ที่พบเป็นอันดับสองในผู้ป่วยเบาหวาน โดยปัญหา เท้าได้ การนวดแบบใช้อุปกรณ์ คือ การประยุกต์
ดังกล่าวเกิดจากปลายประสาทของผู้ป่วยมีการเสื่อม หรือประดิษฐ์วัสดุ ซึ่งเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ง่ายใน
[4]
(Diabetic neuropathy) เนื่องมาจากการมีภาวะ ท้องถิ่น ประดิษฐ์ง่าย ถือว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น
น�้าตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) เป็นเวลา กะลามะพร้าว เป็นต้น การน�าวัสดุดังกล่าวมาเพื่อใช้
นานส่งผลให้น�้าตาลในเลือดกลายเป็นแอลกอฮอล์ เป็นอุปกรณ์ส�าหรับการนวดเท้า ผู้ป่วยสามารถท�า
[10]
น�้าตาล (Sugar alcohol) ชนิดต่าง ๆ ไปท�าปฏิกิริยา เองได้ที่บ้าน มีความสะดวก และท�าให้นวดได้บ่อย
กับโปรตีนและสารชนิดต่าง ๆ เกิดเป็นสารจ�าพวก ปัจจุบันจึงมีการศึกษาผลของการนวดเท้าแบบ
[6]
อนุมูลอิสระออกซิเจน (Reactive oxygen ใช้อุปกรณ์ เช่น การเหยียบกะลามะพร้าว การ
[10]
species) ท�าให้เกิดภาวะถูกออกซิไดซ์เกินสมดุล เหยียบแผ่นไม้ ต่อการลดอาการชาเท้าเป็นต้น
(Oxidative stress) เซลล์เกิดการอักเสบและถูก และเพื่อได้ข้อสรุปผลของการนวดเท้าต่อการลด
ท�าลาย เซลล์ประสาทและใยประสาทจึงเสื่อมและ อาการชาเท้าในผู้ป่วยไทยที่เป็นเบาหวาน จึงมีการ
[6]
ตาย ส่งผลให้เกิดอาการชาที่เท้า เกิดเป็นแผลที่ ทบทวนอย่างเป็นระบบโดยดวงใจ พรหมพยัคฆ์
[11]
เท้าได้ง่าย และหากเท้าไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องจะ และคณะ แม้ข้อสรุปของการทบทวนอย่างเป็น
ส่งผลให้เกิดการติดเชื้อและอาจรุนแรงจนถึงขั้น ระบบดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การนวดเท้าแบบใช้
ถูกตัดเท้า พบรายงานผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกตัดเท้า อุปกรณ์ ไม่ว่าจะเป็นการนวดโดยใช้กะลามะพร้าว
ร้อยละ 0.2-1.6 [4] หรือ การใช้แผงไข่มะกรูด ต่างช่วยลดอาการ
แนวทางการป้องกันอาการชาเท้าในผู้ป่วย ชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวานไทยได้อย่างมีนัยส�าคัญ
เบาหวาน คือ การควบคุมระดับน�้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ ทางสถิติ แต่วิธีด�าเนินการทบทวนอย่างเป็นระบบ
ที่ดีแต่จากข้อมูลที่กล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า ผู้ป่วย ยังขาดขั้นตอนของการประเมินความเสี่ยงต่อ
เพียงครึ่งหนึ่งที่สามารถควบคุมระดับน�้าตาลในเลือด การเกิดอคติ (Risk of bias) ในรายงานวิจัยที่
ได้ แนวทางนี้จึงเป็นไปได้ยากส�าหรับผู้ป่วยส่วน คัดเข้ามาอีกทั้งผลการศึกษารายงานเพียง p-val-
[5]
หนึ่ง การได้รับการรักษาด้วยวิตามินบีแม้จะช่วยการ ue ขาดการรายงานค่าประมาณผล (effect es-
[12]
ท�างานของระบบประสาท แต่อย่างไรก็ตามในผู้ป่วย timates) ของสิ่งแทรกแซง (intervention)
ที่มีอาการชามาก วิตามินไม่สามารถช่วยได้ รวมถึง นอกจากนี้รายงานวิจัยที่คัดเข้ามีทั้งรายงานวิจัยเชิง