Page 42 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 42

272 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 19  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2564




           ตัวเลขใดเป็นตัวเลขที่ถูกต้อง
                  2.5. Results หน้า 6 ระบุว่า “it was reduced to 0.3% (95% CI -0.3, 0.9) in the AP-treatment
                                                                                    ่
           group และตารางที่ 4 ก็ระบุว่า 0.3 (95% CI -0.3, 0.9)’’ ข้าพเจ้าอยากทราบว่าค่า 95% CI ด้านตำาของ 0.3 เป็น
           ลบ (-0.3) ได้อย่างไร
                  2.6. Abstract ระบุว่า “in the AP-treatment group and control group were 0.3% (95% CI

           0.3, 0.8)….’’ ซึ่งไม่สอดคล้องกับข้อมูลในตารางที่ 4 ดังกล่าวในข้อ 2.5 นอกจากนี้ หากค่า point estimate คือ
                          ่
           0.3 ดังนั้น ค่าด้านตำาของ 95% CI ของ 0.3 จะเป็น 0.3 ได้อย่างไร
                  2.7. ข้าพเจ้าอยากทราบว่าผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับฟ้าทะลายโจร คือ AP-extract 180 mg หรือ crude-AP

           144 mg of andrographolide per patient per day มีจำานวนกลุ่มละเท่าใดและมีผลการรักษาแตกต่างกันหรือ
           ไม่
                  2.8. รายชื่อของ authors และกลุ่มคนที่กล่าวถึงใน Acknowledgements ไม่มีชื่อคนเก็บข้อมูลที่โรง

           พยาบาลทั้ง 3 แห่งที่ร่วมโครงการ ข้าพเจ้าจึงขอทราบชื่อคนที่เก็บข้อมูลที่โรงพยาบาลทั้ง 3 แห่ง แห่ง ละ 1 คน


           3. รายงานผลการวิจัยแบบสุ่มและมีกลุ่มเปรียบเทียบ

                Manuscript เรื่อง Efficacy and safety of Andrographis paniculata extract in patients with
           mild COVID-19: A randomized controlled trial ที่ผู้เกี่ยวข้องส่งไปรับการพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร

           International Journal of Infectious Diseases และการนำาเสนอของศาสตราจารย์แพทย์หญิงสยมพร ศิริ
           นาวินในการประชุมวิชาการแบบ online เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2564 ระบุว่า อัตราการเกิด pneumonia ในกลุ่ม

           ฟ้าทะลายโจร คือ 0/29 (0%) และกลุ่ม Placebo คือ 3/28 (10.7%) โดยมีค่า p=0.039 (แตกต่างกันอย่างมีนัย
           สำาคัญทางสถิติ) ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะค่า p ของ 0/29 vs. 3/28 ควรเป็น 0.1 (แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำาคัญทาง
           สถิติ)

                ข้อมูลที่ข้าพเจ้าได้รับ (รูปด้านล่าง) และข้อมูลที่ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสยมพร ศิรินาวินแจ้งข้าพเจ้าทาง
           โทรศัพท์รับว่าค่า p=0.039 ไม่ถูกต้อง และผู้เกี่ยวข้องน่าจะวิเคราะห์ข้อมูลใหม่ได้ค่า p=0.112 (รูปด้านล่าง)
           เนื่องจากข้าพเจ้าระบุเพียง p=0.1 ในจดหมายที่ส่งถึงผู้วิจัยเรื่องนี้ แต่ไม่เคยระบุ p=0.112 และผู้เกี่ยวข้องแจ้ง

           ว่าได้ถอน manuscript เรื่องนี้ออกจากระบบของวารสารที่ได้ส่ง manuscript แล้ว










                แต่ผู้เกี่ยวข้องชี้แจงเรื่องนี้ว่า “การคำานวณค่าทางสถิติกรณีของความแตกต่างการเกิดปอดอักเสบ โดยปกติ
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47