Page 49 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 49
J Thai Trad Alt Med Vol. 17 No. 3 Sep-Dec 2019 399
ภาพที่ 3 น�้าหนักผงยาแต่ละแคปซูลของตัวอย่างที่มีน�้าหนักผงยาเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 300 มิลลิกรัม
อภิปร�ยผล การผันแปรของนำ้าหนัก เป็นข้อกำาหนดหนึ่งใน
การศึกษานี้พบว่ายาแคปซูลฟ้าทะลายโจรที่มี การควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยารูปแบบแคปซูล
จำาหน่ายในท้องตลาดหรือผลิตใช้เองในโรงพยาบาล และสามารถนำาไปใช้กับการควบคุมคุณภาพระหว่าง
ส่วนใหญ่มีนำ้าหนักผงยาเฉลี่ยเบี่ยงเบนจากที่แจ้งบน กระบวนการผลิตได้อีกด้วย เนื่องจากเป็นวิธีที่ตรวจ
ฉลาก ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการควบคุมกระบวนการ สอบได้สะดวก รวดเร็ว และทราบผลในระยะเวลาสั้น
ผลิตที่ไม่ดีพอ ขนาดของผงยาไม่สมำ่าเสมอและไม่เป็น หากพบว่าไม่เป็นไปตามมาตรฐานที่กำาหนดไว้จะ
ไปตามที่กำาหนดในตำารับยา รวมถึงวิธีชั่งนำ้าหนักผงยา สามารถดำาเนินการแก้ไขได้ทันที ตำารายาสากลตาม
ที่จะบรรจุในแคปซูลไม่เหมาะสม เมื่อผู้บริโภคใช้ยา ประกาศกระทรวงสาธารณสุขแต่ละเล่มมีวิธีและ
ตามคำาแนะนำาบนฉลากอาจส่งผลให้ได้รับยาในขนาด เกณฑ์การทดสอบการผันแปรของนำ้าหนัก สำาหรับยา
ที่ไม่ถูกต้อง ขาดประสิทธิผลในการรักษา หรือเกิด รูปแบบแคปซูลแตกต่างกันไป THP เริ่มใช้ข้อกำาหนด
อาการไม่พึงประสงค์จากการได้รับยามากเกินไป นำา นี้สำาหรับยาสมุนไพรรูปแบบแคปซูลในปี พ.ศ. 2547
ไปสู่ความไม่มั่นใจในคุณภาพยาสมุนไพรของทั้งผู้ ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในการนำามาใช้ควบคุมคุณภาพ
บริโภคและบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ผลิตจึงควร ตำารับยาสมุนไพรรูปแบบแคปซูล วิธีและเกณฑ์ที่ใช้
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยา (Good อาจจะเหมาะสมกับเทคโนโลยีการผลิตและควบคุม
Manufacturing Practice; GMP) และตรวจสอบ คุณภาพผลิตภัณฑ์ในขณะนั้น อย่างไรก็ตามวิธีและ
คุณภาพผลิตภัณฑ์ทุกรุ่นผลิตให้ได้มาตรฐานก่อน เกณฑ์ดังกล่าวยังคงเดิมจวบจนปัจจุบันในขณะที่
ปล่อยออกสู่ท้องตลาด ผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือควรได้ เทคโนโลยีการผลิตและการตรวจวิเคราะห์เพื่อ
มาตรฐานตามที่ระบุไว้บนฉลากทุกประการ ควบคุมคุณภาพมีความก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ รวม