Page 53 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 17 ฉบับที่ 3
P. 53

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                      ปีที่ 17  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2562   Vol. 17  No. 3  September-December 2019




                                                                                 นิพนธ์ต้นฉบับ



            การศึกษายาหม่องน้ำามันยูคาลิปตัสที่กลั่นด้วยวิธีเทอร์โมไซฟอน



            ไกรศรี ศรีทัพไทย , พิเชษฐ เวชวิฐาน , นำาพน พิพัฒน์ไพบูลย์
                                                                †
                            ,‡
                           *
                                            *
            * สาขาแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร 47160
            † สาขาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร 47160
             ผู้รับผิดชอบบทความ: Kraisri03@gmail.com
            ‡









                                                 บทคัดย่อ
                                                      ้
                    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดนำามันหอมระเหยจากยูคาลิปตัส ด้วยเทคนิคการกลั่นแบบ
                                                                     ้
               เทอร์โมไซฟอน เพื่อนำาไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย พบว่าผลการกลั่นนำามันหอมระเหยจากยูคาลิปตัส ด้วย
                                                                                  ้
               เทคนิคการกลั่นแบบเทอร์โมไซฟอน มีสาร 1,8-Cineole เท่ากับร้อยละ 50.45 ซึ่งเปรียบเทียบกับนำามันยูคาลิปตัสที่
               จำาหน่ายตามท้องตลาดมีสาร 1,8-Cineole เท่ากับร้อยละ 95.69 ถึงแม้ว่าจะมีปริมาณสาร 1,8-Cineole น้อยกว่าวิธีสกัด
                ้
               นำามันยูคาลิปตัสในทางการค้า แต่ก็มีสารมากเพียงพอที่จะนำามาใช้เป็นประโยชน์ทางการแพทย์แผนไทย โดยนำามาทำา
               เป็นผลิตภัณฑ์ยาหม่องยูคาลิปตัส ศึกษาความคงสภาพของยาหม่องและได้ทำาการทดสอบความพึงพอใจกับนักศึกษา
               สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย ผลจากการทดสอบทางกายภาพของยาหม่องยูคาลิปตัส พบว่า ความคงตัวระยะสั้น มี
               ลักษณะกึ่งแข็ง ไม่แยกชั้น มีตะกอนเล็กน้อย สีและกลิ่นเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ความคงสภาพของสีมีความแตกต่างกัน
               การทดสอบทางกายภาพตามสภาวะจริง พบว่า ยาหม่องยูคาลิปตัสหลังจากเก็บไว้ 30 วัน มีการเปลี่ยนแปลงของสีและ
               กลิ่นเล็กน้อย เมื่อทาลงบนผิวหนังสามารถซึมเข้าสู่ผิวหนังได้ปานกลาง ไม่ระคายเคืองต่อผิว และเช็ดออกได้ปานกลาง
               รวมถึงวัดความพึงพอใจของยาหม่องยูคาลิปตัส กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อกลิ่นยาหม่องยูคาลิปตัสในระดับมาก
               ค่าเฉลี่ย 3.56 สีของยาหม่องอยู่ในระดับปานกลางค่าเฉลี่ย 3.46 และความข้นหนืดของยาหม่องยูคาลิปตัสอยู่ในระดับ
               พึงพอใจปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.39  ผลวิเคราะห์ข้อมูลความรู้สึกพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกผ่อนคลายปานกลาง คิดเป็น
               ร้อยละ 64.80

                    คำ�สำ�คัญ: เทอร์โมไซฟอน, ยูคาลิปตัส, ยาหม่องยูคาลิปตัส













            Received date 17/02/19; Revised date 24/09/19; Accepted date 21/10/19

                                                    403
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58