Page 45 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 45
528 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
nificantly different from favipiravir in the treatment of COVID-19, whether measured by pulmonary infiltrations
on x-ray, change in clinical severity, or viral load reduction, throughout the follow-up period of on days 0, 5
and 10.
Conclusion and Recommendation: Comparison of effectiveness between powders of both aerial parts
and leaves of A. paniculata shows no significant differences from favipiravir in the treatment of mild COVID-19
apart from the cost, where A. paniculata is more accessible and affordable. The conclusion of the study supports
the decision to use A. paniculata powder as first treatment for mild COVID-19.
Key words: Andrographis paniculata, favipiravir, COVID-19, andrographolide
บทน�ำและวัตถุประสงค์ งานวิเคราะห์อภิมานผลการวิจัยแบบสุ่มเปรียบเทียบ
เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย (meta-analysis of RCT) เพื่อประเมินผลของการ
ได้มีการใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เป็นยามาตรฐานในการ ใช้ฟาวิพิราเวียร์รักษาโควิด-19 เทียบกับกลุ่มควบคุม
รักษาโควิด-19 ในประเทศไทย ในขณะเดียวกันก็มี ด้วยยาต้านไวรัสอื่นรวมทั้งสิ้น 9 งานวิจัย พบว่า
การใช้สมุนไพรฟ้าทะลายโจรรักษาโรคนี้อย่างกว้าง ผู้ป่วยมีอาการทางคลินิกที่ดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญใน
ขวางด้วย โดยที่ยังไม่มีหลักฐานการวิจัยแบบสุ่ม ช่วงเวลาการติดตาม 7 วันดีกว่ากลุ่มควบคุม แต่ไม่
เปรียบเทียบ (Randomized-Controlled Trial: แตกต่างกันในการใช้ออกซิเจน อัตราการเข้ารักษา
RCT) ที่ได้ตีพิมพ์ยืนยันว่ายาทั้งสองมีประสิทธิผล ไอซียูและอัตราตายรวม
[1]
ในการรักษาโรคนี้หรือไม่อย่างไร ในส่วนของสมุนไพร ยาฟาวิพิราเวียร์เป็นยาที่ค่อนข้างปลอดภัย ยัง
ฟ้าทะลายโจรนั้นยังไม่เคยมีงานวิจัยแบบสุ่มเปรียบ ไม่มีรายงานว่าท�าให้เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง จาก
เทียบ ที่ใช้ยานี้รักษาโควิด-19 ตีพิมพ์ไว้ ทั้งนี้การใช้ผง การศึกษาในประเทศตุรกีพบผลข้างเคียงการเกิด
บดสมุนไพรฟ้าทะลายโจรรักษาโรคใน 2 รูปแบบ คือ เอ็นไซม์ของตับและ total bilirubin สูงผิดปกติ
(1) ผงบดจากส่วนเหนือดิน (aerial part) ของฟ้า ร้อยละ 13 ขณะใช้รักษาโควิด-19 แต่หายเองโดยไม่
ทะลายโจร (2) ผงบดจากส่วนของใบของฟ้าทะลายโจร ต้องท�าการรักษาใด ๆ และมีรายงานความสัมพันธ์
[2]
ก็ยังไม่มีรายงานว่าการใช้ทั้งสองวิธีนี้มีประสิทธิผลใน ระหว่างระดับของการเกิดพิษต่อตับกับขนาดของฟา
การรักษาโรคแตกต่างกันหรือไม่ วิพิราเวียร์ที่ใช้ (dose-liver toxicity relation) ,
[3]
ฟาวิพิราเวียร์เป็นยาต้านไวรัสที่ออกฤทธิ์ยังยั้ง มีรายงานผู้ป่วยที่กินฟาวิพิราเวียร์ไม่พบผลข้างเคียง
การแบ่งตัวของไวรัสผ่านการยับยั้งเอนไซม์ RNA รุนแรงที่น่ากังวล พบการเกิดกรดยูริกสูง ไม่มีหลัก
polymerase ผลิตที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อใช้รักษาไข้ ฐานเพียงพอที่ยาท�าให้เกิดภาวะทารกพิการในครรภ์
หวัดใหญ่ในปี พ.ศ. 2557 ต่อมาเมื่อมีการระบาดของ (teratogenicity ) การศึกษาย้อนหลังผู้ป่วยที่ได้
[4]
โควิด-19 ยานี้ถูกน�ามาใช้รักษาโรคนี้ โดยมีผลวิจัย รับฟาวิพิราเวียร์รักษาโควิด-19 เพื่อดูผลของยาต่อ
ทั้งที่บ่งชี้ว่ามีประสิทธิผลและไม่มีประสิทธิผล ได้มี ระบบเม็ดเลือด พบว่ายานี้กดการท�างานของเม็ด