Page 49 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 49

532 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




                หรือ     (4) O2 Sat 93-95% โดยไม่ใช้   โดยมีค่าดัชนีมวลกายน้อยที่สุด 13.8 มากที่สุด 31.2
                       ออกซิเจน (5) ภาพเอกซเรย์มี new   และมีค่าดัชนีมวลกายเฉลี่ย 22.9 ± 3.5 ลักษณะทาง

                       infiltration                    ประชากรของกลุ่มตัวอย่าง และเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ติด
                สีแดง    คือ มีภาวะหายใจล้มเหลว        เชื้อ Covid-19 สายพันธุ์เดลต้า (Delta) ใกล้เคียงกับ
                ผลลัพธ์รอง (secondary outcomes) คือ    สายพันธุ์โอไมครอน (Omicron) (Table 1)

                (1) ตัวชี้วัดการอักเสบ (CRP) เมื่อวันที่ 1 และ
           10                                          ส่วนที่ 2 ข้อมูลทำงคลินิก
                (2) การต้องเข้ารักษาในโรงพยาบาล (hospital      จากผู้เข้าร่วมวิจัยในการศึกษานี้ จ�านวน 231

           admission) ใน 30 วัน นับจากวันได้รับการวินิจฉัย  ราย พบว่า มี 2 ราย ที่ออกจากการศึกษาวิจัย (dis-
                (3) การต้องเข้ารักษาในไอซียู. (ICU admis-  continuation) ในวันที่ 6 ของแผนการรักษา ซึ่งเป็น
           sion) ใน 30 วัน นับจากวันได้รับการวินิจฉัย  กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ป่วยในกลุ่มที่ 1 จ�านวน 1 ราย

                (4) การเสียชีวิตใน 30 วัน (30 day mortality)   และกลุ่มที่ 3 จ�านวน 1 ราย เนื่องจากปฏิเสธการตรวจ
           นับจากวันได้รับการวินิจฉัย                  ติดตามจนครบ 10 วัน ผลการศึกษา พบดังนี้

                (5) ภาวะแทรกซ้อนของการรักษา (การท�างาน     2.1  ผลเอกซเรย์ปอด (CXR) ในวันที่ 1, 5 และ
           ของตับ, การท�างานของไต, การเปลี่ยนแปลงอาการ  10
           ทางร่างกายจากยา)                                พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดมีผลเอกซเรย์ปอด

                                                       ปกติในวันที่ 1 ส่วนในวันที่ 5 พบว่ามีผลผิดปกติ
                         ผลกำรศึกษำ                    จ�านวน 5 ราย เป็นผู้ป่วยในกลุ่มที่ 1 จ�านวน 1 ราย

                                                       และกลุ่มที่ 2 จ�านวน 4 ราย ในขณะที่ในวันที่ 10
           ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป                      พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีผลเอกซเรย์ปอดปกติ

                ผู้เข้าร่วมวิจัยในการศึกษาครั้งนี้ มีจ�านวนทั้ง  ร้อยละ 100 (Table 2) เมื่อพิจารณาผู้ป่วยที่ท�าการ

           สิ้น 231 ราย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ได้รับผง  ทดลองกับการเกิดภาวะปอดอักเสบในกลุ่มผู้ป่วยทั้ง
           บดจากส่วนเหนือดินของฟ้าทลายโจร 77 ราย กลุ่มที่  3 กลุ่ม ที่ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทาง
           ได้ผงบดจากเฉพาะส่วนใบของฟ้าทะลายโจร 77 ราย   สถิติที่ระดับ 0.05 (  = 5.315, P-value = 0.070)
                                                                       2
                                                                     c
           และกลุ่มที่ได้รับฟาวิพิราเวียร์ 77 ราย จากการเปรียบ     2.2  ผลการตรวจ RT-PCR ในวันที่ 1, 5 และ
           เทียบโดยใช้สถิติไคว์สแควร์ เพื่อเปรียบเทียบความ  10
           แตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง พบว่าเป็นเพศชาย คิด     ผลการตรวจ RT-PCR ผู้เข้าร่วมวิจัยมีผลการ

           เป็นร้อยละ 52.8 ในขณะที่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 47.2   ตรวจ detected ลดลงจากการติดตามในวันที่ 1, 5
           ตามล�าดับ มีอายุน้อยที่สุด 18 ปี อายุมากที่สุด 58 ปี   และ 10 จากการเปรียบเทียบโดยใช้สถิติไคสแควร์

           และมีอายุเฉลี่ย 34.2 ± 10.83 ปีกลุ่มตัวอย่างมีความ  เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของกลุ่มตัวอย่าง พบ
           แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติในค่าดัชนีมวลกาย   ว่า กลุ่มตัวอย่างไม่มีความแตกต่างของผลการตรวจ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54