Page 50 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2
P. 50
272 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563
สกัดจากบัวบกในคุณสมบัติช่วยเพิ่มความสามารถ สารไทรเทอร์พีนส์ ในบัวบกมีรายงานการวิเคราะห์
ในการจ�า จากการทดสอบในสัตว์ทดลอง การศึกษา ปริมาณ asiaticoside, madecassoside, asiatic
[8–13]
ในระดับเซลล์ถึงกลไกการออกฤทธิ์บ�ารุงสมองพบว่า acid และ madecassic acid ด้วยวิธี HPLC และ
บัวบกท�าให้การหายใจในระดับเซลล์สมองดีขึ้น ต้าน วิธี HPTLC [14-15] นอกจากนี้ได้มีการบรรจุวิธีวิเคราะห์
อนุมูลอิสระ ต้านการเสื่อมของเซลล์สมอง คงสภาพ ปริมาณสารกลุ่มไทรเทอร์พีนส์ และอนุพันธ์ของบัวบก
ปริมาณของ acetylcholine ซึ่งจ�าเป็นต่อการท�างาน ด้วยวิธี HPLC ในต�ารามาตรฐานยาของประเทศ
ของสมอง [3-4] สหรัฐอเมริกา แต่เนื่องจากการวิเคราะห์ปริมาณ
[16]
นอกจากนี้ บัวบกยังมีฤทธิ์ต้านอักเสบ เพิ่มการ สารกลุ่มไทรเทอร์พีนส์ในบัวบกด้วยวิธี HPLC ใช้
สร้างคอลลาเจน ช่วยลดความดันเลือดโดยการเพิ่ม เวลานาน ส�าหรับประเทศไทย มีข้อก�าหนดคุณภาพ
ความยืดหยุ่นให้หลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนของ ในด้านเคมีฟิสิกส์ แต่ยังมิได้มีการก�าหนดปริมาณ
[17]
[4]
หลอดเลือดด�า รวมทั้งช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น สารส�าคัญ และยังไม่มีรายงานการจัดท�ามาตรฐานทาง
[5]
ปัจจุบันครีมบัวบกถูกบรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่ง เคมีของสารสกัดสมุนไพรดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อเป็นการ
ชาติ ใช้รักษาแผล ป้องกันการเกิดแผลเป็น [7] ยกระดับด้านมาตรฐานคุณภาพของสารสกัดสมุนไพร
[6]
ปัจจุบัน มีการน�าบัวบกมาใช้ประโยชน์อย่าง เพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์
แพร่หลาย การควบคุมคุณภาพจึงมีความส�าคัญ เพื่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาวิธี
ให้เลือกวัตถุดิบบัวบกที่ดีและมีปริมาณสารส�าคัญสูง วิเคราะห์หาปริมาณสารส�าคัญโดยใช้วิธี UPLC ซึ่ง
เพื่อใช้ในการผลิตยาและผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรที่ เป็นวิธีที่ให้ความถูกต้องแม่นย�า สะดวก รวดเร็วและ
มีคุณภาพดี อย่างไรก็ตามการศึกษาเชิงปริมาณของ เชื่อถือได้ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภาพที่ 1 ต้น และดอก สมุนไพรบัวบก [Centella asiatica (L.) Urban.]