Page 37 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1
P. 37

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 18  No. 1  Jan-Apr  2020  27




              ตารางที่ 4.1 ความปลอดภัยของการใช้ตำารับยาสมุนไพรคุณแสงชัยในกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยรายเก่า (n = 478)

               ความปลอดภัยของการใช้ตำารับยาสมุนไพร          จำานวนผู้ป่วย (ร้อยละ)       95% CI

               ยังไม่พบอาการผิดปกติ                             438 (91.63)             88.5-93.6
               พบอาการผิดปกติ                                    38 (7.95)              5.5-10.5
                 - ระบบทางเดินอาหาร                                 22                      -
                 - ระบบผิวหนัง                                      6                       -
                 - ระบบขับถ่ายปัสสาวะ                               3                       -
                 - ระบบกล้ามเนื้อ                                   2                       -
                 - ระบบสืบพันธุ์                                    2                       -
                 - ระบบไหลเวียนโลหิต                                1                       -
                 - ระบบอื่น ๆ                                       2                       -
               ไม่ระบุ                                           2 (0.42)                0.0-0.1



              ตารางที่ 4.2  จำานวนและร้อยละของผู้ป่วยหลังจากรับตำารับสมุนไพรครั้งแรกจำาแนกตามการประเมินความรู้สึกของ
                         ผู้ป่วย (n = 478)

               ระดับความรู้สึกของผู้ป่วย                 จำานวนผู้ป่วย (ร้อยละ)         95% CI

               หายขาด                                         2 (0.42)                  0.0-1.1
               ดีขึ้น                                       225 (47.07)                42.1-51.3
               เหมือนจะดีขึ้น                               174 (36.40)                32.3-40.8
               เหมือนเดิม/ไม่เปลี่ยนแปลง                     73 (15.27)                12.2-18.6
               แย่ลง                                          1 (0.21)                  0.0-0.7
               ไม่ระบุ                                        3 (0.63)                  0.0-2.1



              และคณะ (2011) พบว่�ผู้เข้�ร่วมวิจัยมะเร็งเพศหญิง  เดินอ�ห�ร (ลำ�ไส้ใหญ่ กระเพ�ะอ�ห�รลำ�ไส้เล็ก)และ

              ตอบแบบสอบถ�มก�รใช้ประโยชน์จ�กย�สมุนไพรถึง   มะเร็งระบบสูติน�รี (ป�กมดลูก มดลูก รังไข่)  และ
                                                                                            [7]
              ร้อยละ 72.4 โดยช่วงอ�ยุที่ตอบแบบสอบถ�มม�ก   สอดคล้องกับร�ยง�นของ Virani S และคณะ (2017)
              จะอยู่ระหว่�ง 60-69 ปี  ก�รศึกษ�ครั้งนี้พบมะเร็ง 5   พบว่� มะเร็งเต้�นม มะเร็งลำ�ไส้ มะเร็งปอด และมะเร็ง
                               [6]
              ลำ�ดับแรกคือ มะเร็งเต้�นม 382 ร�ย (ร้อยละ 35.20)   ตับเป็นมะเร็งหลักที่พบในคนไทยและยังคงมีแนวโน้ม

              มะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ 110 ร�ย (ร้อยละ 10.10) มะเร็งป�ก  เพิ่มสูงขึ้น  ผู้เข้�ร่วมวิจัยส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยมะเร็ง
                                                                 [8]
              มดลูก 93 ร�ย (ร้อยละ 8.60) มะเร็งตับและมะเร็ง  ระยะที่ 2 และ 3 คิดเป็นร้อยละ 20.10 และร้อยละ
              ปอดอย่�งละ 69 ร�ย (ร้อยละ 6.40) สอดคล้องกับ  22 ต�มลำ�ดับ สอดคล้องกับร�ยง�นก�รสำ�รวจก�ร

              ก�รศึกษ�ของ Farooqui และคณะ, 2016 พบผู้ป่วย  ใช้ก�รแพทย์ท�งเลือกที่นำ�ไปใช้เสริมและทดแทน
              มะเร็ง 3 ลำ�ดับแรกคือ มะเร็งเต้�นม มะเร็งระบบท�ง  ในผู้ป่วยมะเร็งที่ได้รับรังสีรักษ�ในประเทศไทยของ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42