Page 21 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 21
504 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ควรค�านึงถึงข้อจ�ากัดเหล่านี้ และหน่วยงานสนับสนุน แต่ยังมีข้อจ�ากัดของการศึกษามาก กลุ่มตัวอย่างเป็น
การวิจัยของประเทศก็ควรพิจารณาลดข้อจ�ากัดเหล่า กลุ่มเฉพาะกลุ่มเล็ก ๆ ศึกษาแบบกึ่งทดลองเท่านั้น
นี้เพื่อให้การวิจัยยาสมุนไพรของประเทศไทย ได้รับ ไม่สามารถควบคุมปัจจัยหลายอย่างได้ ข้อส�าคัญการ
การยอมรับจากวงวิชาการทั้งในประเทศและในทาง บรรเทาอาการปวดในการศึกษานี้ไม่สามารถแยกได้
สากลมากยิ่งขึ้น ว่าเป็นผลจากสมุนไพรที่ทดสอบหรือส่วนประกอบ
เรื่องที่ 3 การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของ อื่น ๆ ในขี้ผึ้ง เรื่องที่ 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์สครับ
การรักษาด้วยยาพอกเข่าสูตรล�าปางโมเดลกับการ บอลจากสารสกัดใบพลู เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์
รักษาแบบปกติต่ออาการแสดงของโรคลมจับโปงแห้ง ที่ดีมากชิ้นหนึ่ง ทั้งหลักการเหตุผล การก�าหนด
เข่า พบว่าการพอกเข่าด้วยยาที่ปรับปรุงจากสูตรต�ารับ วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา การแสดงผล การอภิปราย
ของนายบุญทอง บุตรธรรมา หมอพื้นบ้านในจังหวัด ผล สรุปและการเขียนรายงาน ผู้ที่สนใจเรื่องการ
ล�าปาง สามารถเพิ่มประสิทธิผลของการรักษาโดยวัด พัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร ควรศึกษาแบบอย่าง
จากอาการแสดงต่าง ๆ สมควรมีการศึกษาเพิ่มเติม จากการศึกษานี้ เรื่องที่ 7 การพัฒนาผลิตภัณฑ์
โดยการออกแบบการวิจัยที่มีระดับความน่าเชื่อถือสูง เครื่องแกงเลียงพร้อมปรุงและแนวคิดธุรกิจอาหาร
ขึ้น เช่น การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มเปรียบเทียบ และ เป็นการศึกษาที่น่าสนใจ ได้ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ
การพัฒนาสูตรต�ารับให้มีคุณภาพและมาตรฐานสูงขึ้น ที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม เรื่องที่ 8 Exploring the
เรื่องที่ 4 การศึกษาประสิทธิผลของแผ่นเจลต�ารับยา Enzymatic-Based Biological Activities of
พอกท้องน้อยขับโลหิตต่ออาการปวดประจ�าเดือนใน Kratom Leaves Extracts on Alpha-Amylase,
กลุ่มผู้ที่มีอาการโลหิตปกติโทษ เป็นความพยายาม Alpha-Glycosidase, Angiotensin-Converting
พัฒนายาพอกแก้ปวดประจ�าเดือนเป็นแผ่นแปะ ซึ่ง Enzyme, and Cholinesterase ผลการศึกษาพบ
เป็นรูปแบบยาแผนปัจจุบัน ได้รับการพิสูจน์จากการ ว่า สารสกัดใบกระท่อมมีฤทธิ์ยับยั้งการท�างานของ
ศึกษานี้ว่าได้ผล และผู้ใช้มีความพึงพอใจ ควรมีการ เอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส, บิวทีริลโคลินเอส
พัฒนาให้มีคุณภาพและมาตรฐานสูงขึ้น และมีการ เทอเรส และแอลฟา-กลูโคซิเดส ซึ่งเป็นการศึกษาใน
ออกแบบทดสอบประสิทธิผลที่น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น โดย ห้องทดลอง จ�าเป็นต้องศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพอื่น ๆ ทั้ง
การทดสอบแบบมีกลุ่มควบคุม เนื่องจากอาการโลหิต ในหลอดทดลองและในสัตว์ทดลองอีกมากก่อนจะเข้า
ปกติโทษโดยมาก จะทุเลาและหายไปเองเป็นส่วนใหญ่ สู่การทดลองทางคลินิกในคนอีกยาวไกล
อยู่แล้ว เรื่องที่ 9 การเปรียบเทียบฤทธิ์ความเป็นพิษ
เรื่องที่ 5 การเปรียบเทียบประสิทธิผลของยา ต่อเซลล์มะเร็งโรคระบบทางเดินอาหารของสาร
ขี้ผึ้งกัญชากับยาขี้ผึ้งไพล ในการรักษาอาการปวด สกัดผักปลังขาวและผักปลังแดง พบว่าผักปลังแดง
กล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล แบบสดที่สกัดด้วยเอทานอล 95% และแยกสกัดต่อ
เรณูนคร จังหวัดนครพนม พบว่าขี้ผึ้งกัญชาสามารถ ด้วยคลอโรฟอร์ม มีศักยภาพในการต้านเซลล์มะเร็ง
ลดอาการปวดกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่ ในกลุ่มทดลองได้ ระบบทางเดินอาหารได้ดีที่สุด สามารถน�าไปศึกษา