Page 50 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
P. 50

266 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 21  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2566




           เสีย ชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็น  เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา โดยหวังว่า
           มูกหรือมีเลือดปน ท้องเสียชนิดไม่มีไข้ เป็นต้น ต�ารับ  ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นข้อมูลส�าคัญที่อาจสนับสนุน

           ยาธาตุบรรจบประกอบด้วยสมุนไพร 22 ชนิด คือ    ให้มีการใช้ยาธาตุบรรจบในการรักษาอาการท้องอืด
           เนื้อลูกสมอไทย โกฐก้านพร้าว เหง้าขิง โกฐเขมา โกฐ  ต่อไป
           พุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนด�า เทียนขาว เทียน

           สัตตบุษย์ เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอก          ระเบียบวิธีศึกษ�
           จันทน์ ดอกกานพลู เปลือกสมุลแว้ง ลูกกระวาน ลูก
                                                  [6]
           ผักชีลา ใบพิมเสนต้น ดอกดีปลี หัวเปราะหอม การบูร    1. วัสดุ
           จะเห็นได้ว่า จากการรายงานผลการศึกษาที่ผ่านมา     1.1  ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
           ทั้งในแง่ประสิทธิผลและความปลอดภัย ต�ารับยาธาตุ     1)  ประชากรที่ท�าการศึกษาในครั้งนี้ คือ ผู้ป่วย
           บรรจบพบว่ามีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียได้หลายชนิด   ที่ได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์แผนปัจจุบัน ว่ามีอาการ

           แต่ยังไม่พบรายงานการศึกษาฤทธิ์ของต�ารับยาธาตุ  ท้องอืดไม่ทราบสาเหตุ จ�านวน 371 คน ของสถานี
           บรรจบต่ออาการท้องอืด อย่างไรก็ตามยังไม่มีการ  อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา

           ศึกษาทางคลินิกเปรียบเทียบผลในการรักษาอาการ   อ�าเภอล�าลูกกา จังหวัดปทุมธานี
                                                                               [7]
           functional dyspepsia ระหว่างต�ารับยาธาตุบรรจบ     2)  กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยที่มีอาการท้องอืดไม่
           กับกลุ่มยาขับลม (antiflatulent)             ทราบสาเหตุและยินยอมเข้าร่วมวิจัย ณ สถานีอนามัย

                ทั้งนี้สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ   เฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา อ�าเภอ
           พระชนมพรรษา อ�าเภอล�าลูกกา จังหวัดปทุมธานี เป็น  ล�าลูกกา จังหวัดปทุมธานี ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์

           สถานีอนามัยขนาดใหญ่ มีการจัดบริการแผนกแพทย์  ถึง เดือนกรกฎาคม พ.ศ 2564 จ�านวน 80 คน กลุ่ม
           แผนไทย ตามเกณฑ์ที่กรมการแพทย์แผนไทยและ      ละ 40 คน และเป็นโรคดีสเปปเซีย ชนิด functional
           การแพทย์ทางเลือกก�าหนด และระบุให้มียาบรรจุอยู่  dyspepsia (FD) วินิจฉัยโดยแพทย์แผนปัจจุบัน

           ในบัญชียาของสถานีอนามัยไม่ต�่ากว่า 20 รายการซึ่ง  สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา
           หนึ่งในนั้นคือ ต�ารับยาธาตุบรรจบและอีกทั้งสถานี  อ�าเภอล�าลูกกา จังหวัดปทุมธานี คัดเลือกเข้าตาม
           อนามัยเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา     เกณฑ์การคัดเลือกอาสาสมัครเข้า/ออก โดยทั้ง 2 กลุ่ม

           จังหวัดปทุมธานี มีผู้มารับบริการโรคดีสเปปเซีย (พ.ศ.   มีข้อมูลพื้นฐานที่ใกล้เคียงกัน และได้รับยา 2 ชนิด
           2561) เฉลี่ยทั้งสิ้นเดือนละ 40 คน และอาจมีแนวโน้ม  แบบ double-blinded, randomized controlled
           การใช้ที่เพิ่มมากขึ้น และยังไม่มีการเก็บข้อมูลติดตาม  trial โดยการจัดท�ายาทั้งสองชนิดจะบรรจุลงใน

           การรักษาอย่างเป็นระบบ                       แคปซูลสีทึบ มีลักษณะภายนอกเช่นเดียวกัน เพื่อให้
                การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบ  ผู้วิจัย แพทย์ผู้วินิจฉัยและผู้เข้าร่วมวิจัยไม่ทราบถึง

           เทียบผลของต�ารับยาธาตุบรรจบกับยาในกลุ่มยา   ความแตกต่างของการรับประทานยา โดยการบริหาร
           ขับลม ได้แก่ simethicone ซึ่งเป็นยาที่มีการสั่ง  ยาจะจัดท�าโดยการท�าตามรหัสปิดประจ�าตัวผู้เข้าร่วม
           จ่ายเพื่อรักษาอาการท้องอืดมาก ในสถานีอนามัย  วิจัยและรหัสปิดรับยาโดยผู้วิจัยและแพทย์ประจ�า
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55