Page 48 - J Trad Med 21-1-2566
P. 48
28 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
ลดความดันโลหิต ต้านเชื้อจุลชีพ ต้านการแพ้ ลด รักษาในรูปแบบอื่น ไม่ว่าจะเป็นการรับประทาน หรือ
การหดเกร็งของล�าไส้ ต้านการเจริญของเซลล์มะเร็ง แม้กระทั่งการอบสมุนไพรที่เป็นการรักษาทางแพทย์
และมีฤทธิ์อย่างอ่อน ๆ ในการต้านอนุมูลอิสระอีก แผนไทยแบบดั้งเดิม ทั้งยังสามารถเพิ่มคุณค่าของ
[7]
ด้วย ด้วยเหตุนี้ย่านางแดงจึงนิยมปลูกเป็นพืช พืชสมุนไพรในชุมชนให้เป็นที่รู้จักและน�ามาใช้ในการ
สมุนไพรประจ�าบ้านทั่วไป และพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ดูแลสุขภาพ ผู้ศึกษาจึงต้องการที่จะศึกษาเปรียบ
ชุมชน ส�าหรับสรรพคุณการป้องกันโรคต่าง ๆ ของ เทียบผลการใช้สมุนไพรย่านางแดงแบบชาชงกับการ
ย่านางแดงนั้น ยังไม่มีข้อมูลวิชาการยืนยันชัดเจน อบต่อระดับโคลีนเอสเทอเรสในเกษตรกรที่สัมผัส
นัก อย่างไรก็ดีมีรายงานว่า ใบย่านางแดงมีสารต้าน สารก�าจัดศัตรูพืช ผลการวิจัยจะเป็นทางเลือกในการ
อนุมูลอิสระ ได้แก่ เบต้า-แคโรทีน แซนโทฟิลล์ วิตามิน ใช้ภูมิปัญญาไทยในการดูแลสุขภาพตนเองและการ
[8]
ซี วิตามินอี แทนนิน และสารประกอบฟีนอลิก ใช้ยาสมุนไพรในสาธารณสุขมูลฐาน เพื่อการน�ามาใช้
โดยสารต้านอนุมูลอิสระเหล่านี้จะช่วยก�าจัดอนุมูล รักษาผู้ป่วยในขั้นคลินิกต่อไป
อิสระที่เกิดขึ้นในร่างกาย และลดความเสื่อมของเซลล์ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผล
ที่เป็นผลจากฤทธิ์ของอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสาเหตุส�าคัญ ระหว่างชาชงและการอบสมุนไพรจากใบย่านางแดงต่อ
ของการเกิดความแก่ชราและโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่น โรค ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในเกษตรกรที่สัมผัส
หลอดเลือดหัวใจอุดตัน โรคมะเร็ง โรคต้อกระจก และ สารก�าจัดศัตรูพืช
[9]
ข้ออักเสบจากโรครูมาตอยด์ เป็นต้น ดังจะเห็นได้
จากงานวิจัยเกี่ยวกับสารสกัดจากสมุนไพรย่านางแดง ระเบียบวิธีศึกษำ
ที่ศึกษาถึงประสิทธิผลในการลดปริมาณสารเมทโธมิล
ที่ปนเปื้อนในถั่วฝักยาว โดยการแช่น�้าที่มีสารสกัดจาก ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
รางจืดและย่านางแดง พบว่า สารสกัดย่านางแดงสด 1.1 ประชากรที่ท�าการศึกษาในครั้งนี้ คือ
ที่สกัดด้วยน�้าสามารถลดปริมาณที่ตกค้างของสาร เกษตรกรที่ท�านา ต�าบลสนามชัย อ�าเภอเมือง จังหวัด
เมทโธมิลในถั่วฝักยาวได้สูงที่สุดเท่ากับ 83.03% [10] สุพรรณบุรี ที่ขึ้นทะเบียนกับสภาเกษตรกร จ�านวน
อีกทั้งยังมีการการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลใน 360 คน โดยเป็นการศึกษาเชิงพรรณนาย้อนหลัง
การเพิ่มระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในกระแส (retrospective study) ผู้ศึกษาใช้เกณฑ์การคัดเข้าผู้
เลือดระหว่างสมุนไพรรางจืดและย่านางแดงในกลุ่ม เข้าร่วมวิจัย (inclusion criteria) เกณฑ์การคัดออก
เกษตรกร โดยพบว่า การดื่มชาชงสมุนไพรรางจืดและ (exclusion criteria) ดังนี้
ชาชงสมุนไพรย่านางแดงสามารถเพิ่มระดับเอนไซม์ 1.1.1 เกณฑ์การคัดเข้าผู้เข้าร่วมวิจัย
โคลีนเอสเทอเรส ในกระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกร (1) อายุ 20 ปี ขึ้นไป
อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 [11] (2) มีประวัติการใช้สารเคมีและสัมผัสสาร
จากปัญหาดังกล่าวผู้ศึกษาจึงมีความสนใจเกี่ยว เคมีก�าจัดศัตรูพืชในการท�าเกษตรกรรม ไม่น้อยกว่า 6
กับการน�าสมุนไพรย่านางแดงมาประยุกต์ เป็นการ เดือน