Page 51 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 51

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  249























            ภาพที่ 3  ผลลัพธ์รวมการนวดเท้าโดยใช้อุปกรณ์พื้นบ้านต่ออาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวานเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
                    ทดลองกับกลุ่มควบคุม กรณีนำารายงานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์ในวารสารออก





            ผลก�รประเมินคว�มแน่นอนหรือคุณภ�พของ         ความเสี่ยงต่อการเกิดอคติ ลด 2 ระดับ เพราะ 1
            หลักฐ�น                                     รายงานวิจัย มีความเสี่ยงต่อการเกิดอคติสูง  ที่
                                                                                            [6]
                 ผลการประเมินความแน่นอนหรือคุณภาพของ    เหลืออีก 4 เรื่อง [10,15-17]   มีความเสี่ยงไม่ชัดเจน (2)
            หลักฐานด้วย GRADE 5 ประเด็น ดังนี้          ความสอดคล้องของผลลัพธ์ ไม่ลดระดับเนื่องจาก

                 กรณีผลลัพธ์ คือ จ�านวนจุดรับรู้ความรู้สึกที่เท้า   ไม่พบความต่างของผลลัพธ์ ค่า I  ร้อยละ 0.0 และ
                                                                                  2
            (1) ความเสี่ยงต่อการเกิดอคติ ลด 1 ระดับ เพราะมี  P-value 0.48 ทั้ง 5 รายงานวิจัย ให้ผลการศึกษาไป
            ความเสี่ยงไม่ชัดเจน (2) ความสอดคล้องของผลลัพธ์   ในทิศทางเดียวกัน นั่นคือ กลุ่มทดลองมีอาการชาเท้า

            ไม่สามารถประเมินได้เนื่องจากมีงานวิจัยเพียง 1 เรื่อง   ที่ดีกว่ากลุ่มควบคุม และขนาดใกล้เคียงกัน (3) การ
            (3) การไม่พบหลักฐานโดยตรง (indirectness) ลด 1   ไม่พบหลักฐานโดยตรง (indirectness) ลด 1 ระดับ
            ระดับ พิจารณาจากกลุ่มทดลองได้รับการนวด 1 ครั้ง   พิจารณาจากสิ่งที่กลุ่มควบคุมได้รับทั้ง 5 รายงาน

            และท�าการประเมินจ�านวนจุดรับรู้ความรู้สึกที่เท้าทันที  วิจัย มีความแตกต่างกัน นั่นคือ 3 เรื่อง [6,15-16]   ได้รับ
            หลังการทดลอง (4) ความไม่เที่ยง (imprecision) ไม่  ความรู้การดูแลเท้า 1 เรื่อง   ได้รับการนวดเท้าด้วย
                                                                            [10]
            ลดระดับพิจารณาจากช่วงความเชื่อมั่นให้ข้อสรุปได้ว่า   นิ้วหัวแม่มือ และอีก 1 เรื่อง  ได้รับการดูแลตาม
                                                                              [17]
            การก้าวขึ้นลง Step กะลามะพร้าวจ�านวน 24 ครั้ง ใน  แบบแผนประจ�า อีกทั้งยังมีช่วงการประเมินผลลัพธ์ที่
            เวลา 1 นาที ท�าจนครบ 3 นาที ช่วยเพิ่มจ�านวนจุดรับรู้  แตกต่างกัน ดังนี้ ประเมินวันที่ 30  ประเมินสัปดาห์ที่
                                                                                 [6]
            ความรู้สึกที่เท้าได้แต่เพิ่มไม่มาก (5) อคติจากการเผย  8 ประเมินห่างจากการประเมินก่อนนวด 1 เดือน
                                                                                              [15]
                                                         [10]
            แพร่ ไม่ลดระดับเนื่องจากผลลัพธ์ถูกรายงานครบถ้วน  และ 3 เดือน  และประเมินหลังสิ้นสุดการนวดที่ 4
                                                                  [16]
            โดยพิจารณาจากวัตถุประสงค์ที่รายงานวิจัยระบุไว้ จึง  สัปดาห์   (4) ความไม่เที่ยง (imprecision) ไม่ลด
                                                              [10]
            สรุปความแน่นอนของหลักฐานอยู่ในระดับต�่า     ระดับ เพราะได้ข้อสรุปที่ว่า การนวดด้วยอุปกรณ์
                 กรณีผลลัพธ์ คือ จ�านวนจุดอาการชาเท้า (1)   สามารถลดจ�านวนจุดอาการชาเท้าได้ (5) อคติจาก
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56