Page 50 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 50

248 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565































           ภาพที่ 2  ผลลัพธ์รวมการนวดเท้าโดยใช้อุปกรณ์พื้นบ้านต่ออาการชาเท้าของผู้ป่วยเบาหวานเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม
                   ทดลองกับกลุ่มควบคุม กรณีแยกและไม่แยกประเภทของอุปกรณ์




           ก�รวิเคร�ะห์กลุ่มย่อย                       ก�รวิเคร�ะห์คว�มไว

                ผลลัพธ์รวมไม่มีความต่างจึงไม่มีการวิเคราะห์     การวิเคราะห์ความไว แบ่งเป็น 2 กรณี ดังนี้

           กลุ่มย่อย แต่หากต้องการพิจารณาตามอุปกรณ์ที่ใช้     กรณีที่ 1 น�ารายงานวิจัยที่ไม่ได้ตีพิมพ์ใน
           ในการนวด ดังภาพที่ 2 จ�านวนรายงานวิจัยที่ใช้กะลา  วารสารออกซึ่งมี 1 เรื่อง  จึงเหลือ 4 เรื่อง [10,15-17]  ผู้เข้า
                                                                         [6]
           มะพร้าวเป็นอุปกรณ์ 2 เรื่อง [6,16]  ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่ม  ร่วมวิจัยกลุ่มทดลองที่นวดเท้าด้วยอุปกรณ์มีจ�านวน

           ทดลองที่นวดเท้าด้วยกะลามะพร้าวมีจ�านวนจุดชา  จุดชาเท้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมาก  (ผลต่างค่า
                                                                                     [18]
           เท้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมาก  (ผลต่างค่าเฉลี่ย  เฉลี่ยมาตรฐานเท่ากับ -1.07 95% CI: -1.35 ถึง -0.79
                                     [18]
           มาตรฐานเท่ากับ -1.41 95% CI: -1.83 ถึง -0.99 ผู้  ผู้เข้าร่วมวิจัย 222 คน กลุ่มละ 111 คน I  ร้อยละ 0.0
                                                                                     2
           เข้าร่วมวิจัย 112 คน กลุ่มละ 56 คน I  ร้อยละ 0.0   p-value 0.53) ดังภาพที่ 3
                                         2
           p-value 0.82) จ�านวนรายงานวิจัยที่ใช้รางไม้หรือ     กรณีที่ 2 น�ารายงานวิจัยที่ถูกประเมินว่า ไม่

           แผ่นไม้เป็นอุปกรณ์ 3 เรื่อง [10,15,17]  ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่ม  ชัดเจน หรือ มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดอคติออก
           ทดลองที่นวดเท้าด้วยรางไม้หรือแผ่นไม้มีจ�านวนจุด  กรณีนี้ไม่สามารถด�าเนินการวิเคราะห์ได้เนื่องจากทั้ง
           ชาเท้าน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมาก  (ผลต่างค่า  5 รายงานวิจัยปรากฏ 4 เรื่อง [10,15-17]  มีความเสี่ยงต่อ
                                        [18]
           เฉลี่ยมาตรฐานเท่ากับ -0.97 95% CI: -1.30 ถึง -0.64   การเกิดอคติสูง และ 1 เรื่อง  ไม่ชัดเจน
                                                                            [6]
           ผู้เข้าร่วมวิจัย 162 คน กลุ่มละ 81 คน I  ร้อยละ 0.0
                                         2
           p-value 0.84)
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55