Page 49 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 49
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 247
ความเสี่ยง ต่อ การเกิด อคติ ไม่ชัดเจน
ช่วงเวลา ที่ประเมิน อาการชา เท้า หลังการ ทดลอง สัปดาห์ที่ 8
อาการชา เท้าเฉลี่ย หลังการ ทดลอง (S.D.) 1.41 (1.87) จุด 3.66 (2.75) จุด
อาการชา เท้าเฉลี่ย ก่อนการ ทดลอง (S.D.) 3.33 (2.56) จุด 3.22 (2.77) จุด
การประเมิน อาการชา เท้า โมโนฟิลา เมนต์ 10 กรัม วัดเท้าข้างละ 10 จุด รวม 20 จุด
ระยะเวลา เฉลี่ยการเป็น เบาหวาน (S.D.) ไม่ระบุ ไม่ระบุ
อายุเฉลี่ย (S.D.) ไม่ระบุ ไม่ระบุ
จำานวน ตัวอย่าง 36 คน 36 คน
การทดลอง ได้รับคำาแนะนำา ฝึกปฏิบัติ การ นวดเท้าด้วยการ ยืนยำ่าเท้าตรงราง ไม้ไผ่ตามคู่มือ ท่า 5 จำานวน ภายใต้คำาแนะนำา ของผู้ฝึกสอน และ การเตรียมการ ผสมนำ้าอุ่น นวด เท้านาน 15 นาที จากนั้นแช่เท้า นาที 10 นาน ตอนเย็นสัปดาห์ ละ 3 ครั้ง (จันทร์- พุธ-ศุกร์) เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ได้รับการดูแล ตามแบบแผน ประจำา
ตารางที่ 1 คุณลักษณะทั่วไปของรายงานวิจัย (จำานวน 6 เรื่อง) (ต่อ)
กลุ่ม ทดลอง ควบคุม
เกณฑ์การ คัดเข้า- คัดออก - ผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 2 นานกว่า 5 ปี - อายุ 40-70 ปี - สุขภาพและ การทรงตัวดี - ชาเท้าอย่าง น้อย 1 จุดจาก 20 จุด - เป็นแผลที่เท้า ชาเท้าทั้งสอง ข้างมากกว่า 10 จุด (จาก 20 จุด) เท้า ผิดรูป และ เป็นหลอด เลือด ดำาอุดตัน คัด ออก
รูปแบบการ ศึกษา กึ่งทดลอง
ผู้แต่ง, ปีที่เผยแพร่ (ลักษณะการ เผยแพร่) ขนิษฐา ทุมา และคณะ, 2563 (บทความ วิจัยตีพิมพ์ใน วารสาร)
ที่ 6