Page 77 - วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2564
P. 77

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 19  No. 2  May-Aug  2021  307




            จัดทำาข้อมูลรายการมาตรฐาน เพื่อให้ความเห็นต่อ  สุขภาพ
            เกณฑ์การคัดเลือกตำารับยาและคัดเลือกตำาราของ      จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับจัดลำาดับ

            ตำารับยาที่ใช้สำาหรับคัดเลือก จากนั้นฝ่ายเลขานุการ  ความสำาคัญพบว่ามีการจัดลำาดับความสำาคัญด้าน
            ทบทวนวรรณกรรมตามเกณฑ์การคัดเลือกและให้      สุขภาพในระดับประเทศ เช่น การจัดลำาดับความ
            คะแนนตามเกณฑ์ที่คณะกรรมการจัดทำาฯ กำาหนด    สำาคัญด้านนโยบายแผนและยุทธศาสตร์ของด้าน

            พร้อมทั้งเสนอร่างรูปแบบตำารับยา คณะกรรมการจัด  สุขภาพของหน่วยงานพัฒนาการวิจัยด้านสุขภาพ
                                                                          [7-8]
            ทำาฯ พิจารณาข้อมูลจากการทบทวนข้อมูลและคะแนน  และองค์การอนามัยโลก  การจัดลำาดับความสำาคัญ
            เป็นรายตำารับ และคัดเลือกตำารับยาที่มีคะแนน  ของหัวข้อวิจัยของหน่วยงานวิจัยประเมินเทคโนโลยี

                                                                           [9]
            มากกว่าค่ามัธยฐานของคะแนนตำารับยาทั้งหมด เพื่อ  และนโยบายด้านสุขภาพ  การจัดลำาดับความสำาคัญ
            ให้ฝ่ายเลขาฯ ได้ทบทวนวรรณกรรมและจัดทำาข้อมูล   เพื่อทำาวิจัยและคัดเลือกมาตรการด้านการส่งเสริม
            มอโนกราฟของรายการมาตรฐาน คณะกรรมการ         สุขภาพและป้องกันโรครวมถึงยาและวัคซีนที่มีความ

            จัดทำาฯ พิจารณาข้อมูลตามมอโนกราฟเป็นรายตำารับ   คุ้มค่าเข้าสู่สิทธิประโยชน์ในระบบประกันสุขภาพถ้วน
                                                                                           [10]
            และนำาผลการพิจารณานำาเสนอต่อคณะกรรมการ      หน้าของสำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ซึ่ง
            อำานวยการจัดทำาข้อมูลรายการมาตรฐาน (positive   เป็นการจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาด้านสุขภาพ
            list) จากนั้นส่งข้อมูลให้แก่สำานักงานคณะกรรมการ  เพื่อให้ได้หัวข้อปัญหาสำาหรับวิจัยและนำาผลวิจัยไป
            อาหารและยาเพื่อใช้ประโยชน์ต่อไป             ใช้ประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย โดยเกณฑ์การ

                                                        คัดเลือกที่ใช้มากที่สุด 2 เกณฑ์คือ 1) จำานวนผู้ที่ได้
            1. ก�รทบทวนวรรณกรรมเกณฑ์ก�รคัดเลือก         รับผลกระทบจากโรคหรือปัญหาสุขภาพ/ขนาดของ

            และจัดลำ�ดับคว�มสำ�คัญของตำ�รับย�แผนไทย     ปัญหา/ภาระโรค 2) ความเป็นธรรมและประเด็นทาง
            เพื่อจัดทำ�ร�ยก�รม�ตรฐ�น                    สังคมและจริยธรรม/ผลกระทบด้านสังคมที่เกิดขึ้น

                 ความรู้การแพทย์แผนไทยเป็นความรู้ที่สืบทอด  จากเทคโนโลยี/นโยบายหรือโรคที่เกี่ยวข้อง เกณฑ์ที่

            กันมายาวนาน มีการจดบันทึกองค์ความรู้ด้านการ  ใช้รองลงมา 3 เกณฑ์คือ 1) ประสิทธิผลของเทคโนโลยี
            รักษาและตำารับยาที่ใช้ในการรักษาในตำารา พระคัมภีร์   ด้านสุขภาพ/ความเป็นไปได้ในการลดปัญหา 2) ความ
            ศิลาจารึก ที่มีจำานวนตำารับมากกว่า 20,000 ตำารับ    แตกต่างในทางปฏิบัติ/มีความหลากหลายในทาง

            ดังนั้นการจัดทำารายการมาตรฐานสำาหรับจดแจ้งจึง  ปฏิบัติหรือมีความไม่เสมอภาคระหว่างผู้ป่วย 3) ความ
            ต้องมีการจัดลำาดับความสำาคัญและคัดเลือกตำารับ  คุ้มค่า (ตารางที่ 1)
            ยา เพื่อให้ผู้ประกอบการนำาไปผลิตและจำาหน่ายต่อ     1.2 การคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ

            ไป ดังนั้นการใช้แนวคิดการจัดลำาดับความสำาคัญ     ประเทศไทยมีการจัดทำาบัญชียาหลักแห่งชาติ
            มาประยุกต์จะทำาให้การคัดเลือกตำารับยาแผนไทย  ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524 โดยคณะกรรมการแห่งชาติด้าน

            สำาหรับจัดทำารายการมาตรฐาน เป็นระบบ โปร่งใส   ยา และคัดเลือกยาตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกยาของ
            ตรวจสอบได้                                  องค์การอนามัยโลก ร่วมกับปัญหาด้านสาธารณสุข
                 1.1 การคัดเลือกและจัดลำาดับความสำาคัญด้าน  ของประเทศ จนถึงบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2539
                                                                                              [11]
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82