Page 4 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือนพฤศจิกายน
P. 4
ตำรับยาปราบชมพูทวีป….
ต้านภูมิแพ้
พท.ป.ชวิศา ประดิษฐอุกฤษฎ์/ดร.ภญ.ดวงแก้ว ปัญญาภู
ตำรับยาปราบชมพูทวีป เป็นตำรับยาในบัญชียา สำหรับการศึกษาฤทธิ์ต้านภูมิแพ้ ต้านการอักเสบ
หลักแห่งชาติ ที่มีข้อบ่งใช้ในการรักษากลุ่มอาการภูมิแพ้ทาง และต้านอนุมูลอิสระของตำรับยาปราบชมพูทวีป โดยคณะ
เดินหายใจ ตำรับนี้ประกอบด้วยสมุนไพรจำนวน 23 ชนิด แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พบว่า สามารถ
ได้แก่ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน การบูร ดอกดีปลี ยับยั้งการหลั่งของเอนไซม์ β-hexosaminidase (เอนไซม์ที่
ลูกพิลังกาสา ลำพันหางหมู โกฐสอ โกฐเขมา เทียนดำ มักพบเมื่อมีอาการภูมิแพ้) จากเซลล์ไลน์ชนิด RBL-2H3
เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนแกลบ ขิงแห้ง เจตมูลเพลิงแดง (ซึ่งเป็น Basobhilic leukemia ที่เป็น histamine releasing
เนื้อสมอไทย เนื้อสมอเทศ หัวบุกรอ ดอกกานพลู หัศคุณเทศ celline และมี high affinity IgE receptor บนผิวเซลล์
ใบกัญชาเทศ พริกไทยดำ เหงือกปลาหมอ สมุนไพรส่วนใหญ่มี เอามาใช้คล้ายเป็น mast cell) ซึ่งมีผลทำให้ตรวจพบสาร
รสเผ็ดร้อน ซึ่งสามารถช่วยปรับสมดุลของธาตุน้ำและธาตุ ก่อภูมิแพ้ อาทิ สารประเภท histamine และ เอนไซม์
ลมที่ผิดปกติ เช่น อาการคัดจมูก น้ำมูกไหล โดยช่วยเพิ่ม β-hexosaminidase ได้น้อยลง และนอกจากนี้ ยังพบว่า
ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และสมุนไพรหลายชนิด เช่น ตำรับยาปราบชมพูทวีปมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและต้านการ
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์มีฤทธิ์ลดปวด ลดอาการอักเสบ และ อักเสบที่แรงช่วยลดการบวมและการอักเสบของหลอดลมได้
พริกไทย ขิง เจตมูลเพลิงขาว และกานพลู พบว่ามีฤทธิ์ต้านการ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากยาปราบชมพูทวีป
อักเสบเช่นกัน ส่วนเนื้อสมอไทย และสมอเทศ มีรสเปรี้ยวอมฝาด มีรสร้อน อาจไม่เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการ
ประกอบด้วยสารกลุ่มฟีนอลิกและแทนนิน สามารถละลาย แสบร้อนท้อง ผู้ที่เป็นแผลในกระเพาะอาหาร
และช่วยขับเสมหะได้ และนอกจากนี้สมุนไพรทั้งสองชนิดยัง และผู้ที่มีไข้ตัวร้อนร่วมด้วย
อุดมไปด้วยวิตามินซี ที่มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ
สามารถช่วยป้องกันหวัดและลดอาการภูมิแพ้และมีฤทธิ์ ปัจจุบันมีการใช้ยาปราบชมพูทวีปในการรักษา
กระตุ้นภูมิคุ้มกันอีกด้วย โรคภูมิแพ้ในหลายโรงพยาบาล ผู้ที่สนใจสามารถเข้ารับ
การรักษาได้ที่ โรงพยาบาลสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา
โรงพยาบาลกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ โรงพยาบาล
อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และ โรงพยาบาล
เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี
เป็นต้น
คณะผู้จัดทำ
ที่ปรึกษา นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บรรณาธิการ นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
บรรณาธิการรอง ดร.เภสัชกรหญิงอัญชลี จูฑะพุทธิ เภสัชกรเชี่ยวชาญรักษาการผู้อำนวยการกองวิชาการและแผนงาน
กองบรรณาธิการ ดร.เภสัชกรหญิงดวงแก้ว ปัญญาภู ภญ.สุภาพร ยอดโต ภญ.ศตพร สมเลศ
ภญ.ภรณ์ทิพย์ จันทร์หอม ภญ.เกษวราภรณ์ วงษ์พิมพ์ ภญ.พิมพรรณ ลาภเจริญ ภญ.สินีพร ดอนนาปี
พท.ป.ประดิษฐา ดวงเดช พท.ป.รสรินทร์ ไพฑูรย์ นายธเนศ อิ่มนุกูลกิจ นายกฤษณะ คตสุข
ท่านสามารถเข้าไปอ่านบทความและดาวน์โหลด
จุลสารฉบับอิเลคทรอนิกส์ ได้ที่ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
https://tpd.dtam.moph.go.th/index. @DTAM
php/news-ak/dtam-news-ak
และสามารถส่งข้อคิดเห็นมาที่ เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ
enewsletters.dtam@outlook.co.th อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
โทรศัพท์ 0-2591-7007 โทรสาร 0-2591-7007