Page 2 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือนพฤศจิกายน
P. 2
เห็ดหลินจือ
กับฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกัน
อิสระ ต้านการอักเสบ และป้องกันเส้นประสาทตาเสื่อม และ
ดร.ภญ.ดวงแก้ว ปัญญาภู
สารกาโนเดอแรนส์ พบว่ามีฤทธิ์ลดน้ำตาลและไขมันในเลือด
ช่วงปลายฝนต้นหนาว เป็นช่วงที่อุณหภูมิและ การศึกษาทางคลินิก โดยใช้สารสกัดสมุนไพรที่มีส่วน
ความชื้นในอากาศมีการเปลี่ยนแปลงลดลงอย่างรวดเร็ว ซึ่ง ผสมของเห็ดหลินจือในผู้ป่วยโรคหอบหืด พบว่า ช่วยบรรเทา
เป็นสภาวะที่เอื้อต่อการเจริญเติบโตของเชื้อโรคต่างๆ จึงไม่น่า อาการของโรคหอบหืดลงได้ โดยกลไกการลดปริมาณเม็ดเลือด
แปลกใจที่ในช่วงเวลาดังกล่าวนี้จะพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยเพิ่ม ขาวและสารกระตุ้นการเกิดภูมิแพ้ในระบบทางเดินหายใจ
ขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ดังนั้น นอกจากนี้ พบว่าเห็ดหลินจือมีฤทธิ์กระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันใน
การเตรียมร่างกายให้พร้อมเผชิญความหนาวเย็นจึงเป็นการ ผู้ป่วยมะเร็งปอด มะเร็งลำไส้ใหญ่ และมะเร็งขั้นลุกลาม มีฤทธิ์
ป้องกันการเจ็บป่วยที่ดีที่สุด และการใช้สมุนไพรที่มีรสร้อน ลดความอ่อนล้า ระงับปวดในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
หรือมีฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกันโรค เป็นหนึ่งในวิธีการที่กำลังเป็น และอาการปวดปลายประสาทจากโรคงูสวัดด้วย อย่างไรก็ตาม
ที่นิยมกันในปัจจุบัน เห็ดหลินจือ เป็นหนึ่งในสมุนไพรที่มีการ แม้ว่าจะมีการศึกษาที่พบว่าเห็ดหลินจือมี
กล่าวถึงอย่างกว้างขวางในฤทธิ์กระตุ้นภูมิคุ้มกัน ซึ่งน่าจะเป็น สารสำคัญที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายมากมาย
คำตอบหนึ่งของกลุ่มคนที่ชื่นชอบการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร แต่ยังมี ข้อควรระวัง ดังนี้
เห็ดหลินจือ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ganoderma
lucidum (Leyss. ex Fr.) Karst. เป็นสมุนไพรที่มีประวัติการใช้ 1) ในผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรัง
ประโยชน์มายาวนานในศาสตร์การแพทย์แผนจีน ทั้งในด้านการ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มะเร็ง
ใช้เป็นยาอายุวัฒนะและรักษาโรคต่าง ๆ อาทิ บรรเทาอาการ หรือ อื่น ๆ ที่จำเป็นต้องรับประทานยา
อ่อนเพลีย ช่วยให้นอนหลับ แก้หลอดลมอักเสบเรื้อรัง และรักษา แผนปัจจุบันและต้องไปแพทย์แผนปัจจุบัน
โรคหัวใจ อย่างต่อเนื่อง แนะนำให้ไปพบแพทย์ตามนัดและรับประทานยา
สำหรับประเทศไทยมีการปลูกเชิงพาณิชย์มาเป็นเวลา แผนปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ และหากต้องการใช้สมุนไพรเห็ด
กว่า 20 ปี ขณะเดียวกันก็เริ่มมีการศึกษาด้านประสิทธิผลและ หลินจือเสริม ควรปรึกษาแพทย์ และ/หรือเภสัชกร ก่อนใช้ยาร่วมกัน
ความปลอดภัยแบบครบวงจรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 โดยองค์การ 2) เนื่องจากไม่เคยมีการศึกษาด้านประสิทธิผลและ
เภสัชกรรมร่วมกับเครือข่าย ความปลอดภัยของเห็ดหลินจือในผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่อง
การศึกษาปัจจุบันทั้งที่ทำการศึกษาในต่างประเทศและ รุนแรง ดังนั้น ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการของโรคดังกล่าว
ในประเทศ พบว่า เห็ดหลินจือมีสารสำคัญกลุ่มไทรเทอร์พีนอยด์ 3) ควรใช้อย่างระวังในผู้ป่วยที่รับประทานยากลุ่ม
กลุ่มพอลิแซ็กคาไรด์ กลุ่มไกลโคโปรตีน และอื่น ๆ โดยเฉพาะ ป้องกันการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด และ/หรือ ยาละลายลิ่มเลือด
กลุ่มพอลิแซกคาไรด์ เช่น บีต้า-ดี-กลูแคน พบว่ามีบทบาทกระตุ้น เพราะเห็ดหลินจือมีฤทธิ์เสริมยาดังกล่าว และ
ภูมิคุ้มกัน ยับยั้งการเจริญของเซลล์มะเร็งและเนื้องอก ต้านอนุมูล 4) หลีกเลี่ยงการใช้เห็ดหลินจือในหญิงตั้งครรภ์และหญิง
ให้นมบุตร เนื่องจากยังไม่มีหลักฐานเชิงประจักษ์หรืองานวิจัย
เกี่ยวกับความปลอดภัยรองรับ
ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ในท้องตลาดที่มีให้
เลือกมากมาย ทั้งแบบสารสกัด ผงของส่วนต่างๆ
ทั้งดอกเห็ด สปอร์ทั้งที่แบบกระเทาะและไม่
กระเทาะเปลือก และเส้นใย ควรพิจารณาและ
อ่านฉลากให้รอบคอบทุกครั้งก่อนเลือกซื้อ