Page 3 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือนพฤศจิกายน
P. 3
สุมยา ..การดูแลผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ
ส่วนต้นตามศาสตร์การแพทย์แผนไทย
พท.สุนิสา หลีหมุด
ขมิ้นอ้อย 1 บดเคล้ามูลน้ำมันหอมสุม
กระหม่อม 3 วัน หาย” และในคัมภีร์ปฐม
จินดาร์ กล่าวถึงการสุมกระหม่อมของ
ทารกหรือเด็ก เพื่อให้ตัวเย็น แก้ไข้ แก้หวัด ในปอด หรือมีเสมหะข้นเหนียวในระบบ
ตอนหนึ่งว่า “...แล้วจึ่งให้แต่งยาสุม ทางเดินหายใจส่วนบน หากมีอาการจมูก
ขนานนี้ท่านให้เอา ดอกมลิ ดอกพิกุล บวม สามารถใส่เมนทอลและพิมเสนเพิ่ม
ดอกกระดังงา ใบพุดทรา ใบผักเปด ข้อควรระวัง คือ ไม่ให้สูดยา
รากเข้าสาน รากสลิด รากอังชัน รากมูลกา ใกล้จนเกินไป ทำให้แสบร้อนใบหน้า
ทั้ง 2 หัวหอม ดินประสิวขาว รวมยา หากมีอาการแน่น อึดอัด ควรพักการ
12 สิ่งนี้เอาเสมอภาค บดสุมกระหม่อม สุมยา ห้ามใช้ในผู้ที่มีอาการหอบเหนื่อย
อากาศยามเช้าเป็นอากาศที่ แต่เช้าจนเที่ยงจึ่งเอาออกเสีย...” รุนแรง มีไข้ และผู้ที่แพ้สมุนไพร
สดชื่น น่าประทับใจของหลาย ๆ คน แต่ การสุมยาเป็นหนึ่งในวิธีการรักษา การสุมยามีฤทธิ์สุขุมร้อน ไม่เหมาะกับ
สำหรับบางคนกลับเป็นช่วงที่น่ารำคาญ ทางการแพทย์แผนไทยที่ช่วยรักษาใน ผู้ป่วยโรคมะเร็งระบบทางเดินหายใจ
เต็มที ที่ต้องมีอาการจามติด ๆ กัน หลาย ระบบทางเดินหายใจ โดยใช้ความร้อน เนื่องจากโรคมะเร็งทางแพทย์แผนไทย
ครั้ง เช็ดน้ำมูกแล้วเช็ดน้ำมูกอีก อาการ ชื้นจากไอน้ำช่วยการระเหยของน้ำมัน เป็นโรคที่มีความร้อนสูง (ปิตตะ)
ดังกล่าวเรียกว่าโรคแพ้อากาศหรือโรคเยื่อ ระเหยง่ายจากสมุนไพรที่มีฤทธิ์รักษาระบบ นอกจากการสุมยา ควรมีการ
จมูกอักเสบจากภูมิแพ้ ฉบับนี้จะแนะนำ ทางเดินหายใจ ได้แก่ ขิง ข่า ตะไคร้ รักษาธาตุน้ำและอุณหภูมิในร่างกาย โดย
ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยในการดูแล ใบมะกรูด ใบกะเพรา ผิวมะกรูด หอมแดง รับประทานสมุนไพรที่มีรสเปรี้ยวกับรสเค็ม
โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจที่เรียกว่าการ หั่นทุบพอหยาบ ใส่สมุนไพร และน้ำร้อนลงใน เพื่อช่วยลดเสมหะ เช่น มะขามป้อมโขลก
สุมยา กะละมัง นำผ้าขนหนูปิดคลุมศีรษะให้ กับเกลือ หรือดื่มน้ำอุ่น เพื่อปรับอุณหภูมิใน
ทางการแพทย์แผนไทย ภูมิแพ้ มิดชิด สูดไอระเหยจากน้ำมันสมุนไพร ร่างกาย ควรหลีกเลี่ยงสารระคายเคือง
เป็นอาการปรากฏทางเสมหะ เกิดจากสาร ประมาณ 15 นาที วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น ที่อาจทำให้อาการภูมิแพ้กำเริบ ได้แก่ ควัน
ก่อภูมิแพ้ อากาศหรือ ภูมิประเทศ ประโยชน์คือ น้ำมันระเหยง่ายมีผลต่อ บุหรี่ ควันท่อไอเสีย กลิ่นฉุน น้ำหอม ควัน
เปลี่ยนแปลง ปับผาสัง (ปอด) กระทบกับ ระบบทางเดินหายใจ ช่วยขยายหลอด ธูปและฝุ่นละอองจากแหล่งต่าง ๆ การออก
ความเย็นภายนอก ทำให้ไฟอุ่นกาย (ไฟใน เลือดฝอย ช่วยให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น กำลังกายสม่ำเสมอและนอนหลับพักผ่อน
ร่างกาย) ไม่ปกติ ส่งผลต่อตรีธาตุทำให้ บรรเทาอาการคัดจมูก ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ ให้เพียงพอก็มีความสำคัญ
เสมหะกำเริบ เป็นมูก ตะกรันในทางเดิน หายใจไม่สะดวก ปวดมึนศีรษะ มีเสมหะ
หายใจ (ทางเดินของวาตะ) จนเป็นน้ำมูก
พิการ ส่งผลต่อปิตตะและวาตะลดลง
(หย่อน) ในพระคัมภีร์โรคนิทาน ตำรา ปัจจุบันในคลินิกแพทย์แผนไทยมีบริการสุมยาในหลายโรงพยาบาล เช่น
แพทยศาสตร์สงเคราะห์ ได้ระบุอาการ โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (ยศเส)
เกี่ยวกับเสมหะไว้ว่า “น้ำมูกเมื่อพิการ รพ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา รพ.แม่สรวย จ.เชียงราย รพ.สต.โพสังโฆ จ.สิงห์บุรี
และ รพ.สต.โพธิ์กระสังข์ จ.ศรีสะเกษ เป็นต้น
แตกนั้น ให้ปวดในสมอง ให้น้ำมูกตก
ให้ตามัวให้ปวดสีสะ โทษ 4 ประการนี้
ถ้าจะแก้ให้ทำยาสุมประกอบใบน้ำดับ
ไฟ 1 หัวหอม 1 เทียนดำ 1 ดินประสิว
ขาว 1 เมล็ดฝ้ายขั้ว 1 ใบพลูแก 1