Page 4 - จุลสารกรมแพทย์แผนไทยฯ ประจำเดือนกันยายน 2562
P. 4

กรมการแพทย์แผนไทยและ


                                                                                                                                                                                   การแพทย์ทางเลือก
            สารสกัดเปลือกมังคุด                                                                                                                                    Department of Thai Traditional and Alternative Medicine



                กับบทบาทต่อโรคอัลไซเมอร์                                                                                                                                            ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำ�เดือน กันย�ยน 2562  DTAM Newsletters





                  โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นภาวะ    โดยเฉพาะ α-Mangostin ในปริมาณสูง มีฤทธิ์ป้องกันพิษของ
            สมองเสื่อมชนิดหนึ่งที่มักพบในผู้สูงอายุ สาเหตุเกิดจากการ  ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์และเบต้าอะไมลอยด์ที่เป็นสาเหตุส�าคัญ

            ฝ่อตัวของสมองที่กระทบต่อโครงสร้างและการท�างานของสมอง  ของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้ การศึกษาในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
            ส่งผลให้ประสิทธิภาพของเซลล์ประสาทลดลงและถูกท�าลาย  ระยะแรกถึงปานกลางเทียบกับยาหลอก พบว่ากลุ่มที่รับประทาน
            ทีละน้อยจนแพร่กระจายไปสู่สมองหลาย ๆ ส่วน โดยเฉพาะ     สารสกัดเปลือกมังคุดนาน 24 สัปดาห์ มีค่าเฉลี่ยคะแนนรวมการ
            สมองที่ท�าหน้าที่ควบคุมความคิด ความทรงจ�า การใช้ภาษา  รู้คิด และความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ�าวัน แตกต่าง
            และพฤติกรรม หากเป็นมากจะไม่สามารถท�ากิจกรรมหรือ       กับกลุ่มที่รับประทานยาหลอกอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ อีกทั้ง

            อาชีพที่เคยท�าได้ตามเดิมและอาจมีพฤติกรรมและอารมณ์ที่  ไม่ท�าให้เกิดพิษหรืออาการข้างเคียงที่รุนแรงทั้งในระยะเฉียบพลัน
            เปลี่ยนแปลงไปด้วย                                     และเรื้อรัง และยังพบอีกว่าสารสกัดจากเปลือกมังคุดอาจมีผล
                   เนื่องในโอกาสวันที่ 21 กันยายนของทุกปี ถูกก�าหนดให้เป็น   ช่วยชะลอการเกิดโรคจากฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่ายาหลอก
            วันอัลไซเมอร์โลก (World Alzheimer’s Day) จุลสารฉบับนี้   ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าสารสกัดจากเปลือกมังคุดมีศักยภาพสูง

            จึงขอแนะน�าให้รู้จักสมุนไพรไทยที่มีการศึกษาวิจัยว่าอาจมี  ที่จะพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่ใช้ดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์
            บทบาทในการชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้ ดังนี้          ร่วมกับยาแผนปัจจุบันในอนาคตได้
                  มังคุด (Garcinia mangostana L.) ถือได้ว่าเป็นราชินี   อย่างไรก็ตาม การป้องกันและชะลอโรคอัลไซเมอร์ที่ดี                                                                             พิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย

            แห่งผลไม้ไทย เพราะนอกจากเนื้อมังคุดที่มีรสชาติอร่อยแล้ว   ที่สุด ที่สามารถท�าได้ด้วยตัวเอง คือ หมั่นบริหารสมองโดยการ
            ส่วนของเปลือกมังคุดยังใช้เป็นสมุนไพรด้วย ในทางการแพทย์  อ่านหนังสือ เล่นเกมจับคู่หรือเกมบวกเลขง่าย ๆ ดูแลสุขภาพจิต            เนื่องจากในวันที่ 19 กันยายน ของทุกปี เป็นวันพิพิธภัณฑ์ไทย จุลสารฉบับนี้จึงขอน�าเสนอพิพิธภัณฑ์การสาธารณสุข
            แผนไทย ระบุมังคุดมีรสฝาด สรรพคุณช่วยบรรเทาอาการ       ให้ดี หมั่นคิดในแง่บวก หากิจกรรมคลายเครียด รับประทาน              และการแพทย์ไทย ซึ่งอยู่ในความดูแลของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ดังนี้
            ท้องเสียและมีฤทธิ์สมาน ปัจจุบันได้มีการน�าเปลือกมังคุดมาสกัด  อาหารที่มีประโยชน์ให้ครบ 5 หมู่ ออกก�าลังกายสม�่าเสมอ และ       พิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย เดิมชื่อ “อาคารพิพิธภัณฑ์และศูนย์ฝึกอบรมการแพทย์แผนไทย”
            และพัฒนาเป็นยาใช้ภายนอก ซึ่งยาเปลือกมังคุดเป็นยาพัฒนา  ส�าหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป หากมีอาการหลงลืมง่ายกว่าปกติ     (เรือนหมอเพ็ญนภา) เป็นอาคารทรงไทย แบบเครื่องก่อ 9 หลัง เป็นอาคาร 3 ชั้น ชั้นที่ 1 (ชั้นใต้ดิน) เป็นห้องประชุม อบรม
            จากสมุนไพรที่ได้รับการบรรจุให้เป็นยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ   ควรไปรับการตรวจวินิจฉัยโรค เพราะถ้าพบอาการของโรคเร็ว        สัมมนา และจัดนิทรรศการ ชั้นที่ 2 เป็นหน่วยบริการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ชั้นที่ 3 (ชั้นบนสุด) เป็น

            ระบุสรรพคุณช่วยสมานแผล ทั้งแผลสดและแผลเรื้อรัง        จะสามารถชะลอการลุกลามของโรคนี้ได้เร็วยิ่งขึ้น                     หอนิทรรศการ 9 ห้อง การก่อตั้งอาคารดังกล่าวโดยการริเริ่มของ แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ในปี พ.ศ. 2537 มีวัตถุประสงค์
                  นอกจากนี้ มีรายงานจากงานวิจัย พบว่า สารสกัดจาก                     พท.ป.เย็นภัทร์ คำาแดงยอดไตย                    เพื่อฟื้นฟูบูรณาการ รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน หอนิทรรศการแต่ละหลัง เป็นการ
                                                                                                                                    ประมวลประวัติศาสตร์ความเป็นมา ทั้งองค์ความรู้ในทุกมิติเกี่ยวข้องกับการสาธารณสุขไทย น�ามาบูรณาการและจัดแสดงไว้
            เปลือกมังคุด ประกอบด้วยสารในกลุ่มแซนโทน (Xanthones)
                                                                                                                                    อย่างเป็นระบบ เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชนผู้สนใจได้ทราบพอสังเขป ต่อมามีการปิดเพื่อปรับปรุงภายในอาคาร และเปลี่ยนชื่อ
                                                                                                                                    เป็น “พิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย” ซึ่งพิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย เริ่มเปิดให้บริการอย่าง
              คณะผู้จัดทำ�                                                                                                          เป็นทางการอีกครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2561 โดย สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร


              ที่ปรึกษา     นายแพทย์มรุต          จิรเศรษฐสิริ               อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก             รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�าเนินทรงเปิดอาคารพิพิธภัณฑ์ฯ เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
                            นายแพทย์ปราโมทย์      เสถียรรัตน์          รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก                ที่ผ่านมา และนอกจากนี้บริเวณโดยรอบอาคารพิพิธภัณฑ์ ได้จัดเป็นสวนสมุนไพรที่มีสมุนไพรหายากหลายชนิด มีทั้งพืชสมุนไพร
              บรรณาธิการ    นายแพทย์สรรพงศ์       ฤทธิรักษา            รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก                ที่เป็นยาและอาหาร ซึ่งผู้เยี่ยมชมสามารถดาวน์โหลดโมบายแอปพลิเคชัน การระบุชนิดสมุนไพรด้วยภาพ (Herbal Image

              บรรณาธิการรอง   ดร.เภสัชกรหญิงอัญชลี    จูฑะพุทธิ        ผู้อ�านวยการกองวิชาการและแผนงาน                              Identification: Herb ID) เพื่อเรียนรู้ชนิดสมุนไพรได้ด้วยการถ่ายภาพใบหรือดอก ซึ่งจะท�าให้ทราบรายละเอียดลักษณะทาง
              กองบรรณาธิการ  ดร.เภสัชกรหญิงดวงแก้ว      ปัญญาภู                  ภญ.สุภาพร ยอดโต     ภญ.เกษวราภรณ์ วงษ์พิมพ์        พฤกษศาสตร์ สรรพคุณ วิธีใช้และข้อควรระวังของสมุนไพรนั้น ๆ ได้ด้วยตนเอง
                            ภญ.พิมพรรณ ลาภเจริญ                              พท.วัชราภรณ์ นิลเพ็ชร์   พท.ป.ประดิษฐา ดวงเดช                พิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย เปิดบริการในวันและเวลาราชการ (จันทร์ถึงศุกร์) ยกเว้นวันหยุดเสาร์ อาทิตย์
                            นายธเนศ  อิ่มนุกูลกิจ                            นายกฤษณะ  คตสุข       กลุ่มงานสื่อสารองค์กร            และวันหยุดนักขัตฤกษ์ สถานที่ติดต่อ ชั้น 2 บริเวณเคาน์เตอร์ตรงข้ามคลินิก การเข้าชมนอกเหนือจากวันเวลาที่ก�าหนด และหากต้อง
                                                                                                                                    เข้าเยี่ยมชมเป็นหมู่คณะ สามารถขอรับการอนุเคราะห์วิทยากรและการเข้าชมสถานที่ได้ โดยการท�าหนังสือราชการน�าเรียนอธิบดี

                           ท่านสามารถเข้าไปอ่านบทความและ   ติดตาม กรมการแพทย์แผนไทยฯ            เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์     กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อขออนุญาตเข้าเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์การสาธารณสุขและการแพทย์ไทย
                           ดาวน์โหลดจุลสารฉบับอิเล็กทรอนิกส์  ผ่านทางโซเชียลมีเดียได้ที่        ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000   ในวันและเวลาดังกล่าว ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ที่เบอร์โทรศัพท์ 0 2591 1964, 0 2590 2606
                           ได้ที่ http://tpd.dtam.go.th/index.                                  โทรศัพท์ : 0-2591-7007
                                                                                                โทรสาร  : 0-2591-7007
                           php/news-ak/dtam-news-ak                                                                                       ศูนย์ข้อมูลยาสมุนไพร การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
   1   2   3   4